โดย สมบัติ บุญญาวานิชย์ ถึงเป้าหมายด้วย KTA‘s Model ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงปฏิบัติ การวางแผนกลยุทธ์ (WSW : Workshop Strategy Workout) โดย สมบัติ บุญญาวานิชย์ 12/9/05 WSW : KTA’s Model
การบริหารทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ การบริหารที่มีความท้าทายมากที่สุดคือ การบริหารทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ เราจะรับผลของของการบริหารนั้น เมื่อทุกอย่างผ่านไปแล้ว และยากที่จะแก้ไข วิถีการทำงาน/Style กลยุทธ์ขององค์การ/Strategy ทักษะของทีมงาน/Skill มีเป้าหมายเดียวกัน/Shared Vision วัฒนธรรมการแสดงความคิดเห็นในองค์การ 12/9/05 WSW : KTA’s Model
การแปลความเข้าใจของคนวางรากฐานไว้ 2 วิธี คือ ความท้าทายอยู่ที่การแปลความหมายในการมีปฏิสัมพันธ์ กับผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายใน และภายนอกองค์การ การแปลความเข้าใจของคนวางรากฐานไว้ 2 วิธี คือ (1) การเข้าใจความเป็นจริงโดยเข้าไปอยู่ใกล้กับสิ่งของ หรือเหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ หรือวรรณกรรมที่ต้องการแปลความหมายเพื่อให้เข้าใจในสื่งที่ต้องการแปลความหมายนั้น (2) มีภูมิ(ความรู้+ประสบการณ์)สามารถสร้างการรับรู้เข้าใจความเป็นจริง ต่อสิ่งของ หรือเหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ หรือวรรณกรรม ให้ตรงตามความเป็นจริงนั้น 12/9/05 WSW : KTA’s Model
symbolic interactionism มนุษย์สื่อสารสิ่งที่เขาเรียนรู้ผ่านทางสัญลักษณ์ (symbols) Blumer บิดาแห่งSymbolic เสนอให้หากระบวนการที่คนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ทำให้คนได้รับความหมายของความจริงซึ่งประกอบกันเป็นโลกที่สัมผัสได้ ที่เรียกว่า “real world” W.I.Thomas จึงกล่าวว่า “ไม่สำคัญว่าการแปลความจะถูก หรือไม่ ถ้าคนให้ความหมายต่อเหตุการณ์ตามที่เป็นจริงของเขา ก็เป็นความจริงในความหมายของเขา” แต่อาจจะไม่เป็นจริงในความหมายของเรา ความเป็นจริงของความหมายจึงเป็น Social products ที่มาจากการกระทำที่คนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ระหว่างความหมายที่เป็นจริงของผู้สร้าง กับความจริงของผู้รับ ด้วยการแปลความจากการสร้างทางเลือกที่แน่นอนต่างๆให้ตรงกัน 12/9/05 WSW : KTA’s Model
เราจะเอาชนะความท้าทายนี้ได้อย่างไร? ใช้เทคนิคของ KTA พาเพลิน สู่กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงปฏบัติ สร้างให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ด้วยการมีส่วนร่วมทุกระดับอย่างมีเป้าหมายร่วม โดยวิธี ดำเนินตาม KTA’s Model (ตาม) ร่วมเรียนรู้อุปสรรค ร่วมคิดสร้างโอกาส (บุกตะลุย) ทำฝันให้เป็นความจริง (หลีกหนี) 12/9/05 WSW : KTA’s Model
KTA คืออะไร? Knowledge องค์ความรู้มีมากเท่าที่จำเป็นในการทำงาน Thinking Skill การสะท้อนถึงการเรียนรู้(Reflective Learning) กับปัญหาของงาน เพื่อให้เกิดการสร้างกระบวนการคิด(Thinking Process) ในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ กำหนดทางเลือก ใช้ความรู้ที่มีอยู่ผสมผสานกับความรู้ใหม่ๆ Apply Skill การประยุกต์บริบทของภาระหน้าที่( Functional Context ) ทำให้เกิดการประยุกต์งาน(Apply)เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใหม่ในการทำงาน สร้างมูลค่า(Value Creation) ในสินค้า และบริการ หรือนวัตกรรม สร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ 12/9/05 WSW : KTA’s Model