บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ อาจารย์บรรพต พิจิตรกำเนิด
The one that is the best outcome. What is a good decision ? The one that is the best outcome.
Decision = Choice , Cut
ความหมาย การตัดสินใจ Dicision making หมายถึง กระบวนการศึกษา วิเคราะห์ ประเมิน เลือกทางเลือกที่เป็นไปได้ และเหมาะสมที่สุด
การตัดสินใจ & การคิดอย่างเป็นระบบ คิดให้ลึกซึ้งเชิงวิเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดให้ครบ Loop คิดในภาพรวมทั้งระบบ
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ องค์ประกอบด้านนโยบาย องค์ประกอบทางวิชาการ องค์ประกอบทางสังคม องค์ประกอบทางการวิเคราะห์เชิง เศรษฐศาสตร์
ขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจ การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ การรวบรวมสารสนเทศ การประเมินค่าสารสนเทศ การกำหนดทางเลือกสำหรับการแก้ปัญหา การวิเคราะห์ / เปรียบเทียบทางเลือก
การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด การนำทางเลือกไปปฏิบัติ การติดตามประเมินผล
การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ เป็นการทำความเข้าใจในความต้องการของผู้ใช้ อิทธิพลที่มีผลต่อการกำหนดปัญหา สถานการณ์ – อายุ การศึกษา สถานะทางสังคม ตัวผู้ใช้เอง – ต้องการเพื่อประโยชน์ หรือเพื่อสนองความปรารถนาเท่านั้น การตลาด – การได้รับข้อมูลใหม่ๆ มักกระตุ้นให้เกิดความต้องการ ขั้นตอนนี้ทำให้เกิดประเด็นวิจัย
การแสวงหาข้อมูล / ข่าวสาร เป็นการสนับสนุน หรือยืนยันความคิด ที่เกิดความต้องการอยู่ บางครั้งอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนใจ ช่องทางการแสวงหาข้อมูล ทำได้ทาง การอ่าน การฟัง การสั่งสมประสบการณ์
ทางตรง – หาจากต้นแหล่งของข้อมูล วิธีการแสวงหาข้อมูล ทางตรง – หาจากต้นแหล่งของข้อมูล แบบ Browsing – คนหาจากช่องทางต่าง ๆ แบบบังเอิญ ปัจจัยที่มีผลต่อการแสวงหาข้อมูล ความพอใจของตนเอง ระยะเวลาในการแสวงหา การเปลี่ยนแปลงทางเลือก
การประเมินค่าสารสนเทศ เป็นการคัดเลือกข้อมูล ที่หามาได้จากทั้งหมด สิ่งที่ควรพิจารณาในการประเมินค่า ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ความถูกต้องของข้อมูล ความตรงต่อเวลาที่ต้องการ ปริมาณที่เพียงพอ และพอเหมาะ
การกำหนดทางเลือกสำหรับการแก้ปัญหา เป็นการพัฒนาทางเลือก เพื่อแก้ปัญหานั้น ๆ ซึ่งสามารถมีทางเลือกได้หลายทาง
การวิเคราะห์ / เปรียบเทียบทางเลือก เป็นการนำทางเลือกที่ได้ มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ เพื่อให้ได้ทางเลือกที่ดีที่สุดในสถานการณ์นั้น ๆ การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด การนำทางเลือกไปปฏิบัติ
การติดตามประเมินผล เป็นการประเมินภายหลังจากผู้ใช้ได้ใช้ผลิตภัณฑ์ นั้น ๆ แล้ว หากผู้ใช้พึงพอใจ – จะใช้งานต่อ ซื่อสัตย์ต่อสินค้า หากผู้ใช้ไม่พึงพอใจ – เลิกใช้งาน เกิดทัศนคติที่ไม่ดี ขั้นตอนนี้ทำให้เกิดประเด็นวิจัย
ตัวแปรที่ส่งอิทธิพลต่อการตัดสินใจ ความแตกต่างของบุคคล – วัย เพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ ความเชื่อ ทัศนคติ ฯลฯ ตัวกระตุ้นทางการตลาด – สินค้า ราคา ช่องทางการจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด สิ่งแวดล้อม – การอบรมเลี้ยงดู วัฒนธรรมชุมชน สถานะทางสังคม กระบวนการทางจิตวิทยา
ประเภทของการตัดสินใจ การตัดสินใจครั้งแรก การตัดสินใจเต็มรูปแบบ – ดำเนินครบทุกขั้นตอน มักเกิดกับการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่สำคัญมาก ๆ การตัดสินใจแบบจำกัดขอบเขต – ดำเนินการบางขั้นตอน มักเกิดกับการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การตัดสินใจแบบซ้ำซ้อนปานกลาง – ดำเนินการในแต่ละขั้นตอนไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล
ประเภทของการตัดสินใจ การตัดสินใจเลือกใช้ซ้ำ (การตัดสินใจอย่างเป็นนิสัย) ความซื่อสัตย์ต่อตรายี่ห้อ (brand royalty) – การใช้ผลิตภัณฑ์ ที่ผู้ใช้ยอมรับ ศรัทธา ไม่ว่าจะเป็นยี่ห้อ คุณภาพ ราคา ฯลฯ ความเฉื่อย (inertia) – การใช้ผลิตภัณฑ์จนติดเป็นนิสัย ผู้ใช้จะพยายามหรือทุ่มเท ให้กับการหาผลิตภัณฑ์น้อยลง
ประเภทของการตัดสินใจ การตัดสินใจเลือกใช้แบบพิเศษ การตัดสินใจแบบด่วน – เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ไม่ได้วางแผนไว้ก่อน มักเกิดจาก ความต้องการเร่งด่วน อารมณ์ชั่ววูบ อารมณ์ถูกครอบงำ
การตัดสินใจโดยลำพัง VS การตัดสินใจโดยกลุ่ม
การตัดสินใจโดยกลุ่ม Brain Storming Group Sharing Technique Buzz Group
Question ?