การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป By Juthawut Chantharamalee Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
บทที่ 5 การใส่เนื้อความในเว็บเพจ บทที่ 5 การใส่เนื้อความในเว็บเพจ บทที่ 2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
บทนำ ข้อความต่างๆ บนหน้าเว็บเพจนับว่าเป็นองค์ประกอบที่มีความสำคัญมาก เนื่องจาก ข้อความที่ปรากฏบนหน้าเว็บเพจ จะเป็นตัวกลางสื่อความหมายถึงผู้เข้ามาเยี่ยมชม เว็บไซต์ ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นต้องจัดวางข้อความเนื้อหาต่างๆ บนหน้าเว็บเพจให้เหมาะสม สวยงาม เพื่อเป็นสิ่งดึงดูดให้มีผู้เข้าชมเว็บไซต์ของเรามากๆ เริ่มใส่ข้อความในเว็บเพจ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
การใส่ข้อความในเว็บ วางเคอร์เซอร์ในตำแหน่งที่ต้องการพิมพ์ข้อความ แล้วพิมพ์ข้อความที่ต้องการ เพียง เท่านี้ก็จะได้ข้อความที่ต้องการแล้ว แต่ถ้าต้องการตกแต่งส่วนต่างๆ เพิ่มเติม เช่น ใส่สี พื้นหลังหรือกำหนดระยะห่างจากขอบก็สามารถทำได้เช่นกัน Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
การเลือกรูปแบบตัวอักษร (Font) ในการเลือกรูปแบบตัวอักษรที่ไม่มีมาตรฐานนั้น อาจจะเกิดปัญหาได้ในกรณีที่มีผู้เข้าชม เว็บไซต์แล้วอ่านยาก ไม่สวย หรือเป็นภาษาที่อ่านไม่ออก ดังนั้นจึงควรใช้รูปแบบ ตัวอักษรที่เป็นมาตรฐาน เช่น MS Sans Serif เนื่องจากสามารถแสดงผลบนเบ ราเซอร์ทุกชนิด โดยการเลือกรูปแบบตัวอักษร (Font) มีขั้นตอนดังนี้ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
การเลือกรูปแบบตัวอักษร (Font) Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
การนำข้อมูลจากไฟล์อื่นมาใช้ ความสามารถพิเศษอีกอย่างของ Dreamweaver CS3 ก็คือ นำข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ในไฟล์ประเภทอื่น เช่น Word, Excel, Powerpoint เป็นต้น มาวางบน พื้นที่สร้างงานซึ่งจะช่วยเพิ่มความสะดวกและประหยัดเวลาในการทำงานเป็นอย่างมาก โดยมีขั้นตอนดังนี้ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
การนำข้อมูลจากไฟล์อื่นมาใช้ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)
The End Unit 5 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)