บทที่ 5 โสตศิลป์ : สุนทรียภาพในดนตรี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
Advertisements

ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ของ ด.ช. กฤษฎา หลาบเจริญ ม.2/3 เลขที่15 ปีการศึกษา2548
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
หมอลำ “หมอลำ” หมายถึง การร้องเป็นทำนองตามคำกลอนในหนังสือผูก คนที่จำคำกลอนในลำต่างๆได้มากและไปแสในงานบุญต่างๆเรียกว่า “หมอลำ” การแสดงหมอลำมีพัฒนาการอย่างยาวนาน.
พระวาจาของพระเจ้าบอกว่า
นางศุจินันท์ ฉลาด โรงเรียนโชคชัยสามัคคี นครราชสีมา
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี
บทบาทผู้นำสหกรณ์ยุคใหม่ ผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา
สื่อประกอบการเรียนรู้
พระวาจาทรงชีวิต เมษายน 2011.
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
เรื่อง สติ กับการบริโภค
โครงงานเรื่อง “อุปรากจีน”ศิลปะการแสดงที่ล้ำค่า
การเพิ่มคำ.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การรำ โนรา ชาตรี โรงเรียนอนุบาลวังม่วงอ.วังม่วง จ.สระบุรี
บทที่ 2 สุนทรียภาพในงานวิจิตรศิลป์.
สุนทรียศิลป์ (Aesthetics)
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
ความหมาย ขอบเขต กำเนิดนาฏกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ข้อมูลปัญหาที่นำมาใช้เพื่อการออกแบบสวน
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
สวทช NSTDA ชุมนุมสมาชิก JSTP
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
ศิลปะการละคร กับ กระบวนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
เทศกาลของประเทศญี่ปุ่น
เครื่องดนตรีไทย ดนตรีนาฏศิลป์ จัดทำโดย ครูกฤษณ์พงศ์ บุญทวี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
จัดทำโดย นางบุษยมาศ หีบเพชร
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องประเภทของเครื่องดนตรีไทย
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจเราเฉลิมฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษโบราณว่าChristes.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
การแสดง. 1. โขนเป็นการแสดงแบบใด เนื้อหา ศิลปะการแสดงอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยที่มี ประวัติความเป็นมายาวนาน เป็นศิลปะการเต้นเป็น เรื่อง ผู้แสดงตามสวมหัวโขน.
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิด ของพระเยซูเจเราเฉลิม ฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับ ศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas.
องค์ประกอบของบทละคร.
What is the Wisdom ?.
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ดนตรีสากล จัดทำโดย เด็กชายศิณุพงศ์ เกาะแก้ว ม.1/6 เลขที่ 9 เสนอ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
“~เครื่องดนตรีสากล~”
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 โสตศิลป์ : สุนทรียภาพในดนตรี

ความหมายของดนตรี ดนตรีคือ เสียงที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบ และมี แบบแผนโครงสร้าง เป็นรูปแบบของกิจกรรมเชิงศิลปะ ของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมา ในด้านระดับเสียง ( ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน ) จังหวะ และคุณภาพเสียง ( ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียงความดังค่อย ) ดนตรีนั้นสามารถใช้ในด้านศิลปะหรือสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงานพิธีการต่างๆ

ที่มาของดนตรี คาดกันว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์ ในสมัยนั้นต้องอาศัยอยู่ในถ้ำ โดยยังไม่รู้ว่า ความสว่างและความมืดนั้น คือกลางวันและกลางคืน ยังไม่รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และเป็นเรื่องธรรมดา ดังนั้นเพื่อเอาใจเทพเจ้าเขาจึงทำการวิงวอน ด้วยการเต้น การร้อง และรำ

ที่มาของดนตรี (ต่อ) เมื่อคนในยุคดังกล่าวต้องการ แสงแดด ลมหรือฝน เขาก็จะเรียกชนเผ่าของตน มาชุมนุมกันแล้วเต้นรำ บูชา พระอาทิตย์ บูชาลม หรือบูชาฝน ขณะที่เวลาผ่านไปหลายทศวรรษเขาก็ยังใช้การแสดงเหล่านี้ เสมือนเป็นการวอนขอต่อเทพเจ้า และกลายมาเป็น งานฉลองในศาสนาต่างๆ เช่น งานฉลองวันอิสเท่อร์ วันคริสต์มาส และพิธีการแห่ นางแมวขอฝนของไทยภาคอีสาน

ที่มาของดนตรี (ต่อ) นี่คือวิถีที่ดนตรี การเต้นรำ กวีนิพนธ์ จิตรกรรม และละครได้เกิดขึ้น เป็นสิ่งที่สืบเนื่องมาจาก การที่คนโบราณใช้เจรจาต่อพระเจ้า

กิจกรรม สร้างเครื่องดนตรีจากสิ่งใกล้ตัว เช่น เมล็ดพืชต่างๆ หรือหิน บรรจุในกระป๋อง หรือวัสดุเหลือใช้ ตามความคิดสร้างสรรค์ ที่สามารถเป็น เครื่องดีด สี ตี กระทบหรือเป่าได้

อ้างอิง ประเสริฐ ศิลรัตน์. วิรุณ ตั้งเจริญ. ความเข้าใจในศิลปะ, กรุงเทพฯ: O.S.พริ้นติ้งเฮ้า, 2525 วิรุณ ตั้งเจริญ. สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต, กรุงเทพฯ: อีแอนด์ไอคิว, 2545