Sociology of Development

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
เศรษฐกิจพอเพียงกับบริการสุขภาพ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
Sociology of Development
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
การพัฒนาสังคม Social Development 1-2 : 18/25 พ.ย.54.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คำอธิบายรายวิชา 1.คำอธิบายรายวิชา (คัดจากเอกสารหลักสูตร)
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
Evaluation of Thailand Master Plan
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Sociology of Development 01460441 สังคมวิทยาการพัฒนา Sociology of Development 1-2: 20/27 พ.ย. 54

หมู่ 800 วันอาทิตย์ เวลา 9.00 - 12.00 น. ห้อง 10305 หมู่ 801 วันอาทิตย์ เวลา 13.00 - 16.00 น. ห้อง 10305 หมู่ 850 วันอาทิตย์ เวลา 16.30 - 19.30 น. ห้อง 10305 อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ และคณะ โทร. 08-7908-5500 E-mail : fmstss@src.ku.ac.th

วัตถุประสงค์ของวิชา : 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย สาระสำคัญ แนวคิดและ ทฤษฎีพัฒนากระแสหลักต่างๆ ตัวแบบแห่งการพัฒนา แนวคิดและทฤษฎี ทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประยุกต์ใช้ และผลจากการพัฒนาตามตัวแบบการพัฒนาในประเทศต่างๆ 3. เพื่อให้นิสิตมีความสามารถในการวิเคราะห์ถึงประเด็นสาระสำคัญ แนวคิดและทฤษฎีทางการพัฒนาและสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา รวมทั้งการกำหนดทิศทางการพัฒนา และแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิด จากการพัฒนา

คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : แนวความคิด และทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและตัวแบบของการพัฒนา Sociological theories and concepts relating to development, models of development.

วิธีการสอนและระบบสอน : 1. การบรรยาย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม 2. การรวบรวมผลการศึกษา วิเคราะห์ วิจารณ์ อภิปรายแบบมีส่วนร่วม 3. การจัดทำรายงานรายวิชา โดยฝึกทักษะการวิเคราะห์ต่างๆ 4. การสรุปผลและนำเสนอ โดยที่มีงานมอบหมายให้ค้นคว้าเพื่อศึกษา เพิ่มเติมหาความรู้

การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียน ร้อยละ 10 โดยการเข้าร่วมรับฟังคำบรรยายอย่าง สม่ำเสมอและอภิปรายแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ 2. การทำรายงานและงานมอบหมาย ร้อยละ 25 ในชั้นเรียน 3. การสอบกลางภาค ร้อยละ 30 4. การสอบปลายภาค ร้อยละ 35

การประเมินผลการเรียน : ระดับคะแนนพิจารณาจากเกณฑ์คะแนน สูงกว่า 80.0 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 75.1 - 80.0 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 70.1 - 75.0 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 65.1 - 70.0 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 60.1 - 65.0 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 55.1 - 60.0 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 50.1 - 55.0 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า 50.1 คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0

ข้อกำหนดในการเรียน : 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 2. นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 3. นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนในขณะสอนอันจะมีผลทำให้การ เรียนการสอนขาดคุณภาพ 4. นิสิตต้องเข้าร่วมและจัดทำรายงาน การทำงานตามที่มอบหมาย 5. นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาด 1 ครั้ง

ความหมาย “คุณภาพชีวิต (Quality of Life)” มิติของคุณภาพชีวิต คุณภาพทางจิตใจ คุณภาพ ทาง จิตวิญญาณ คุณภาพทางสังคม คุณภาพทางกายภาพ

คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางกายภาพ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนแง่วัตถุ สิ่งของ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ประกอบด้วย - ปัจจัย 4 : อาหาร ที่อยู่ เสื้อผ้าและยารักษาโรค - สิ่งก่อสร้างและการบริการขั้นพื้นฐาน : เส้นทางคมนาคม ระบบไฟฟ้า น้ำประปา สถานศึกษาและ สาธารณสุข สวนสาธารณะ ศูนย์กลางค้า สถานบริการและอื่นๆ - เครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ : สิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ยานพาหนะ โทรทัศน์ โทรศัพท์ เครื่องใช้และอื่นๆ

: ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตใจ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง ความเชื่อมั่นใจ การพึ่งตนเอง การมีศักดิ์ศรี การเข้ามีส่วนร่วม ภาวะ จิตใจสงบสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มีความเมตตา กรุณา มีสติ มีสมาธิ เป็นต้น คุณภาพชีวิตทางสังคม : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีการอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชน สังคมและโลกอย่างสงบและสันติภาพ รวมถึงการได้รับบริการ ทางสังคม หรือบริการจากรัฐที่ดี

: ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก เสียสละเข้าถึงความจริงทั้งหมด โดยลด ละเลิกความเห็นแก่ตัว มุ่งถึง ความดีสูงสุด/ภาวะคุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นมิติทาง คุณค่าที่สูงสุดเหนือไปจากโลกหรือทางวัตถุ การมีศรัทธาและเข้าถึง คุณค่าที่สูงส่งทำให้เกิดความสุขอันประณีตลึกล้ำ

มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา ประเด็นพิจารณา มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา เทคโนโลยี Technology สังคม Social มนุษย์ Human เศรษฐกิจ Economic สิ่งแวดล้อม Environment

วัตถุนิยม ทุนต่างประเทศ เศรษฐกิจ ก้าวหน้า ขยายการผลิต ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ การใช้ ทรัพยากร

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ สังคมยอมรับ เศรษฐกิจ ก้าวหน้า สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน การใช้ ทรัพยากร

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ ก้าวหน้า สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน การใช้ ทรัพยากร เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ แผนพัฒนา ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ ก้าวหน้า สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล การใช้ ทรัพยากร คงความหลากหลาย ทางชีวภาพ กลไกรัฐและเอกชน การมีส่วนร่วม เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนา

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ แผนพัฒนา ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ ก้าวหน้า สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล การใช้ ทรัพยากร จัดสรรทรัพยากร อย่างยุติธรรม คงความหลากหลาย ทางชีวภาพ ลดความขัดแย้ง บริหารจัดการที่ดี กลไกรัฐและเอกชน การมีส่วนร่วม เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม สังคมสงบและพัฒนา สังคมพึ่งพาและ พัฒนาตัวเอง แผนพัฒนา

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ แผนพัฒนา นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ ก้าวหน้า สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล การใช้ ทรัพยากร เพิ่มขีด ความสามารถ คุ้มค่า ประสิทธิภาพ ไม่ทำลาย จัดสรรทรัพยากร อย่างยุติธรรม คงความหลากหลาย ทางชีวภาพ ลดความขัดแย้ง บริหารจัดการที่ดี กลไกรัฐและเอกชน การมีส่วนร่วม เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม สังคมสงบและพัฒนา สังคมพึ่งพาและ พัฒนาตัวเอง แผนพัฒนา

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ แผนพัฒนา นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ พอเพียงและยั่งยืน สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล การใช้ ทรัพยากร เพิ่มขีด ความสามารถ คุ้มค่า ประสิทธิภาพ ไม่ทำลาย จัดสรรทรัพยากร อย่างยุติธรรม คงความหลากหลาย ทางชีวภาพ ลดความขัดแย้ง บริหารจัดการที่ดี กลไกรัฐและเอกชน การมีส่วนร่วม เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม สังคมสงบและพัฒนา สังคมพึ่งพาและ พัฒนาตัวเอง แผนพัฒนา

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ แผนพัฒนา ปรับตัว รวดเร็ว ชุมชน เข้มแข็ง นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพิ่มทุน ทางสังคม ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ พอเพียงและยั่งยืน สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล การใช้ ทรัพยากร เพิ่มขีด ความสามารถ คุ้มค่า ประสิทธิภาพ ไม่ทำลาย จัดสรรทรัพยากร อย่างยุติธรรม คงความหลากหลาย ทางชีวภาพ ลดความขัดแย้ง บริหารจัดการที่ดี กลไกรัฐและเอกชน การมีส่วนร่วม เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม สังคมสงบและพัฒนา สังคมพึ่งพาและ พัฒนาตัวเอง แผนพัฒนา

สิ่งแวดล้อม วัตถุดิบ ผู้ผลิต ทรัพยากร ธรรมชาติ สั่งสินค้า บริการสินค้า ของเหลือ วัตถุดิบ ผู้ผลิต ทรัพยากร ธรรมชาติ ของทิ้ง สั่งสินค้า บริการสินค้า สิ่งแวดล้อม ผู้บริโภค ของทิ้ง ของเหลือ

นำกลับใช้ใหม่ สิ่งแวดล้อม วัตถุดิบ ผู้ผลิต ทรัพยากร ธรรมชาติ มาตรการ นำกลับใช้ใหม่ วัตถุดิบ ของเหลือ ผู้ผลิต ทรัพยากร ธรรมชาติ ของทิ้ง บริการสินค้า สิ่งแวดล้อม สั่งสินค้า ผู้บริโภค ของทิ้ง ของเหลือ นำกลับมาใช้ใหม่ มาตรการ

การพิจารณาประเมินผล คุณค่า (Values) การให้ความสำคัญ บริบทสังคม / วิถีชีวิต (Social Context) พื้นฐานมนุษย์ การตัดสินใจ (Decision) พิจารณารอบด้านอย่างเชื่อมโยง ทรัพยากร (Resources) การใช้อย่างคุ้มค่า/อนุรักษ์ หลักฐาน (Evidence) บทเรียนที่ต้องศึกษา

3 เหลี่ยม โครงสร้างการแก้ปัญหา สร้างความรู้ (K) เคลื่อนไหวทางสังคม (S) เชื่อมต่อกับการเมือง (P) 3 เหลี่ยม โครงสร้างการแก้ปัญหา

กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน “การพัฒนาที่มีดุลยภาพระหว่างมิติทางเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูลกันเพื่อ ความอยู่ดีมีสุขของประชาชนตลอดไป”

THAILAND

ทุนการพัฒนา ทุนทางธรรมชาติ (Natural capital) ทุนทางสังคม ทุนทางมนุษย์ เทคโนโลยี เทคโนโลยี ทุนทางธรรมชาติ (Natural capital) ทุนทางสังคม (Social capital) ทุนทางมนุษย์ (Human capital) ทุนทางเศรษฐกิจ (Economic capital) เทคโนโลยี เทคโนโลยี

การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1. การรวมตัวของเศรษฐกิจโลก 2. เทคโนโลยี 3. แนวโน้มประชากรและสังคม 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พฤติกรรมการบริโภค

การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การรวมตัวเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี และบทบาทเศรษฐกิจ ของเอเชียที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีน และอินเดีย ผลของความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐ ต่อค่าเงิน การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การเคลื่อนย้ายเงินทุนในโลกมีมากขึ้น Hedge Funds เก็งกำไรในเงินและราคาสินค้า จะมีกฎ ระเบียบ การกำกับตรวจสอบ และ ธรรมาภิบาลของสถาบันการเงินและธุรกิจ เอกชนที่เข้มงวดขึ้น เช่น Basel II, COSO2 เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ นาโนเทคโนโลยี

ประชากร ประชากรและสังคม สุขภาพ ความปลอดภัยในสังคม วัฒนธรรมและค่านิยม

มาตรการการค้าไม่ใช่ภาษี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อผูกพันระดับโลก ปัจจัยการผลิต

การขยายตัวของความเป็นเมือง โครงสร้างอายุ รูปแบบการบริโภค รายได้ การขยายตัวของความเป็นเมือง

หลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge application Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning นโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality

Economic Restructuring Agriculture Industry Service Economic Restructuring Value Chain by Cluster Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution Infrastructure and Logistics S&T, R&D, Innovation Macroeconomic Policy Human Resource Development Laws and Regulations

โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การขยายฐานภาคบริการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมเชิงรุก ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ

2 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 10-15 ปีข้างหน้า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ เสมอภาคและสมานฉันท์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ ปรับตัวได้มั่นคงและกระจายการพัฒนาที่เป็นธรรม จัดการและคุ้มครองฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนเพื่อผลประโยชน์ต่อคนรุ่นอนาคต พัฒนาศักยภาพคนและการปรับตัวบนสังคมฐานความรู้ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกันที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง สงวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทั้งการใช้ การป้องกัน และการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงในการดำรงชีวิต ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล พึ่งตนเองและเข่งขันได้ด้วยฐานความรู้ สร้างความเสมอภาคและการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการสังคมที่ดี จัดการและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี สร้างภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งของทุนทางสังคมให้เกิดสันติสุข สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน กระจายผลประโยชน์ของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม กระจายการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและการมีส่วนร่วมของประชาชน