01460443 การพัฒนาสังคม Social Development 6 : 23 ม.ค. 55.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย
Advertisements

การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
คณะศึกษาศาสตร์ กำแพงแสน มก.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
เศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
( Organization Behaviors )
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
สงครามเย็น.
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
การพัฒนาสังคม Social Development 3 : 2 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)
Sociology of Development
ทฤษฎีและแนวคิดการพัฒนา (Development Theory and Concepts)
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ทฤษฎี ความหมาย มีหน้าที่คือ 1.อธิบาย 2.พยากรณ์หรือทำนาย
บริษัทประกันภัย Hanover
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
วิวัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
(Individual and Organizational)
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การพัฒนาภาคพิสดาร เศรษฐศาสตร์การเมืองของโลกทัศน์ตะวันออก Political Economy of Eastern Weltanschauung (Worldviews) ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การสร้างสรรค์บทละคร.
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
บทที่ 16 ครอบครัว.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
36 1. สหรัฐอเมริกาใช้อะไรในการฟื้นฟู เศรษฐกิจของทวีปยุโรป เพื่อต่อ ต้านคอมมิวนิสต์ ก. แผนการมาร์แชลล์ ข. หลักการทรูแมน ค. แผนการโมโลตอฟ ง. นโยบายกลาสต์-เปเรสตรอยกา.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01460443 การพัฒนาสังคม Social Development 6 : 23 ม.ค. 55

กรอบแนวคิดการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา 1) ภายหลังสงครามโลกครั้ง 2 เกิดการแบ่งกลุ่มประเทศขึ้นอย่าง ชัดเจนตามความเชื่อลัทธิการเมือง-เศรษฐกิจ 2) เกิดประเทศ/รัฐใหม่จำนวนมาก โดยประเทศภายใต้อาณานิคม ของชาติมหาอำนาจตะวันตก ได้รับอิสระกลายเป็นประเทศเกิดใหม่ (Emergent States) 3) ประเทศ/รัฐชั้นนำต้องสร้างพันธมิตรด้วยการแสวงหาประเทศ ที่มีความด้อย/อ่อนแอกว่าเป็นฐานในการต่อสู้กับฝ่ายตรงกันข้าม 2 2

สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตรัสเซียกลายเป็นศูนย์รวม กรอบแนวคิดการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตรัสเซียกลายเป็นศูนย์รวม อำนาจที่พยายามขยายแพร่อิทธิพลตนเอง ด้วยการกำหนดรูปแบบ ทางเศรษฐกิจและการเมืองให้แก่ประชาคมโลกตามความเชื่อของ แต่ละประเทศ ประธานาธิบดี Harry Truman ของสหรัฐอเมริกาแถลงใน สภาคองเกรสเมื่อต้นปี พ.ศ. 2492 ว่า ชาติมหาอำนาจจะต้องให้ ความช่วยเหลือชาติเกิดใหม่ที่ “ล้าหลัง” และ “ไม่ศิวิไลซ์” ด้วยการ “ช่วยเหลือ” ภายใต้เหตุผลของ “การพัฒนา” 3 3

บางประเทศยอมรับนำแนวคิดเป็นกรอบการพัฒนาแตกต่าง กรอบแนวคิดการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา บางประเทศยอมรับนำแนวคิดเป็นกรอบการพัฒนาแตกต่าง กันทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตรัสเซีย หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลาย สหรัฐเอมริกามีบทบาทขึ้น และกลายเป็นประเทศชี้นำ ครอบงำและมีอิทธิพลเหนือประเทศอื่น กรอบการพัฒนาของโลกมีการเปลี่ยนแปลง 3 ครั้ง - เน้นอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ - เน้นความสอดคล้องของโครงสร้างความสัมพันธ์และพึ่งพา - เน้นประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและวิธีวางแผนแบบสังคมนิยม 4 4

กรอบแนวคิดการพัฒนา กระบวนทรรศน์ (Paradigm) (1) ทรรศนะพื้นฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง/หลายอย่างที่จะกำหนดแบบแผน การคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่งๆ (2) ความคิดรวบยอดของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง/หลายอย่าง โดยจะกำหนดแบบแผนความคิดหรือพฤติกรรมการกระทำ (3) เมื่อทรรศนะ/ความคิดพื้นฐานเปลี่ยนแปลงจะทำให้แบบแผนการคิด และการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย (Paradigm Shift) 5 5

“การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย “การพัฒนา” : กรอบแนวคิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) “การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย “การพัฒนา” : - ทุนนิยม/เสรีนิยม - สังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ ตั้งแต่เริ่มก่อกำเนิดของทฤษฎีแรกแห่งการพัฒนา (The First Theory of Development) 6 6

กรอบแนวคิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - สมัยประธานาธิบดี Harry Trueman ของจักรวรรดินิยมอเมริกาภายหลังจากการยุติลงของสงครามโลกครั้งที่ 2 - การต่อสู้ระหว่างลัทธิการเมืองและนโยบาย 4 เป้าหมาย (Point Four Programme) เพื่อถ่วงดุลย์อำนาจ ช่วงชิงและครอบงำประเทศอ่อนแอให้ เป็นฐานกำลังในการต่อสู้กับปฏิปักษ์ - สงครามระหว่างลัทธิได้ดำเนินติดต่อกันมาจนกระทั่งเกิดการล่มสลายของ ลัทธิสังคมนิยมโซเวียต รวมทั้งการเปลี่ยนท่าที แนวทาง และนโยบายทางการเมืองของพันธมิตรหลายๆ ประเทศ 7 7

- ประเทศบริวารและกึ่งบริวารที่เปรียบเสมือนกับประเทศ กรอบแนวคิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - การล่มสลายของลัทธิเศรษฐกิจการเมืองของประเทศที่เป็นปฏิปักษ์ทำให้เกิดการแพร่กระจายและขยายตัวของแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (Main Stream Economy) - ประเทศบริวารและกึ่งบริวารที่เปรียบเสมือนกับประเทศ อาณานิคมยุคใหม่ (New Colony) ของจักรวรรดินิยมอเมริกา นำเอาแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และแนวคิดปฏิฐานนิยมไปกำหนดแนวทางในการพัฒนาประเทศ 8 8

- แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : กรอบแนวคิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - ผลการนำแนวคิดมาใช้พัฒนาประเทศอย่างขัดแย้งกับวัฒนธรรมและวิถีการดำรงชีวิต (Mode of Living) - แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : : ผลประโยชน์ส่วนบุคคลอย่างไร้ขอบเขต : การทำลายล้างระบบนิเวศ ระบบศีลธรรม วัฒนธรรม สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 9 9

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เริ่มประมาณสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามเกิดภัยพิบัติ/หายนะ โดยเฉพาะพื้นที่ประเทศยุโรป และแนวคิดการพัฒนาแพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนาประมาณ 1950-60 นักทฤษฎีเสนอกรอบ “การพัฒนาเชิงเนื้อหาทางเทคนิค” (Technical matters) ที่มีการใช้วิเคราะห์ปัญหาสังคมด้อย พัฒนาต่างๆ ด้วยการประยุกต์ใช้:- : Neo-Classic Economic : American Social Science

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่า “เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ” หรือ“Development Economics” เป็นศาสตร์/สาขาที่มีความก้าวหน้าสูง โดยลักษณะ เป็นศาสตร์เชิง “ปฏิฐาน” (Positive Science) ที่มีอิทธิพลต่อ การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศต่างๆ โดยพิจารณา แนวการปฏิบัติงานเน้นดำเนินงานทางเศรษฐกิจลักษณะ -: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory เริ่มปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 : โครงการฟื้นฟูประเทศยุโรป ตะวันออก (European Recovery Programme, ERP) = E/F/I/W G เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่าประสบ ผลสำเร็จ แพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนา ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” นักทฤษฏี/นักวิชาการ/นักปฏิบัติในกลุ่ม “ปฏิฐานนิยม/ สุขนิยม” (Positivists) เสนอ “การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” : อุปสรรค/ภาวะด้อยพัฒนาจะเกิดจากการขาดเงื่อนไขการ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 13

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ประเด็นการพัฒนา : : ขจัดเงื่อนไขอุปสรรค : เศรษฐกิจเจริญ : สังคมเจริญ กรอบแนวความคิดประยุกต์ใช้กว้างขวางทั้งประเทศ พัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ลักษณะแนวความคิด/ทฤษฎีกลไก (Technocratic Theory) : ใช้เป็นวิธีเชิงการปฏิบัติงาน

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) พิจารณามองการพัฒนาเชิงโต้ตอบ/การต่อต้านกรอบ แนวคิด 1 st Paradigm เริ่มขึ้นระยะเวลาใกล้เคียงกันในพื้นที่ยุโรปตะวันตก ลาตินและอเมริกา ประมาณต้นทศวรรษที่ 1960 (2503) โดยเสนอแยกการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาออกจาก : - เศรษฐศาสตร์พัฒนา - สังคมวิทยาอเมริกัน แนวคิดหลายกระแสมาก 15

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) นักทฤษฎี/นักวิชาการกลุ่มนี้เรียกว่า แนวคิดก้าวหน้า (The Radicals) โจมตีวิพากษ์ทฤษฎีภาวะทันสมัยว่า เป็น การมองปัญหาคับแคบ/ไม่ครอบคลุมถึงแก่นแท้ปัญหามาก พอสำหรับการพัฒนาประเทศต่างๆ ปัญหาประเทศด้อยพัฒนาเกิดจากครอบงำ การเอารัดเอา เปรียบ และขูดรีดจากประเทศจักรวรรดินิยม Structuralism Approach 16

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) หลักการที่ใช้วิเคราะห์ปัญหาและทางออกของสังคมด้อย พัฒนาที่ขยายตัวและได้รับความสนใจอย่างรวดเร็ว ได้แก่ - ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) - ทฤษฎีภาวะด้อยพัฒนา (Underdevelopment Theory) 17

กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) เริ่มประมาณต้นศตวรรษที่ 1970 โดยกลุ่มนักทฤษฎี มาร์กซิสต์ (The Marxists) ที่เริ่มให้สนใจปัญหาการพัฒนา โลกที่ 3 การขยายตัวระบบทุนนิยมโลกมีผลต่อภาวะความสับสน และภาวะด้อยพัฒนาของประเทศด้อยพัฒนาทั่วไป

กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) : แนวทางพิจารณาปัญหาสังคมด้อยพัฒนา - วิถีการผลิต (Mode of Production) - การดูดซับมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) - การขัดแย้งทางชนชั้น (Social Class Conflict)

กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) การพัฒนา : ทุน (Capital) แรงงาน (Labour) ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น (Social Class Relationship)

กรอบแนวคิดการพัฒนา ทฤษฎีการพัฒนามิใช่สูตรสำเร็จ (ready Formula) ที่จะนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางในทุกระบบสังคม แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาไม่ควรจะมีลักษณะเป็น mechanico- formal formulation เพราะ : 1) กระบวนการพัฒนาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง 2) ประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ของสังคมที่มีเงื่อนไขและรูปแบบทางประวัติศาสตร์แตกต่างกัน 21 21