ผลการดำเนินงานของพื้นที่พิเศษเมืองพัทยาฯ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2552 เห็นชอบการประกาศพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง พื้นที่พิเศษเมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง ประกอบด้วย เมืองพัทยา เทศบาลเมืองหนองปรือ ทต.บางละมุง ทต.ตะเคียนเตี้ย ทต.โป่ง ทต.ห้วยใหญ่ ทต. นาจอมเทียน อบต.หนองปลาไหล อบต.เขาไม้แก้ว รวมพื้นที่ 928.47 ตร.กม. จัดทำแผนแม่บทการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง เพิ่มเติมพื้นที่เชื่อมโยง อบต. นาจอมเทียน รวมพื้นที่ 949.47 ตร.กม.
Greenovative Tourism City เศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อม People (ความสุข จริยธรรม / คุณภาพชีวิต) Projects Places นโยบายของรัฐบาลและการบูรณาการภาครัฐและองค์กรที่เกี่ยวข้อง พัฒนานวัตกรรม (innovation) ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) Greenovative Tourism City แนวคิดในการพัฒนา
The World Class Greenotive Tourism City เมืองท่องเที่ยวที่มีนวัตกรรมการพัฒนาควบคู่ไปกับการดูแล และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งยังส่งเสริมให้พื้นที่พิเศษ เป็นศูนย์รวมของกิจกรรมท่องเที่ยวที่มีความหลากหลาย โดยร่วมมือกับคนท้องถิ่น ให้เกิดความสวยงามปลอดภัย และน่าอยู่ สู่นวัตกรรมสามสมดุล
15,007.36 ล้านบาท เมืองท่องเที่ยวระดับโลก World Class Destination ด้วยภาพลักษณ์ใหม่ Greenovative Tourism City 15,007.36 ล้านบาท Economic Environment Social 6
บทบาทของพื้นที่พิเศษในอนาคต : เส้นทางการท่องเที่ยวในการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เส้นทางที่ 1 เส้นทางวัฒนธรรมชุมชน
บทบาทของพื้นที่พิเศษในอนาคต เส้นทางท่องเที่ยวที่ 2 บทบาทของพื้นที่พิเศษในอนาคต : เส้นทางการท่องเที่ยวในการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เส้นทางที่ 2 เส้นทางวิถีชุมชนศาสนา
บทบาทของพื้นที่พิเศษในอนาคต : เส้นทางการท่องเที่ยวในการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เส้นทางที่ 3 เส้นทางวิถีชุมชนและวัฒนธรรม เส้นทางท่องเที่ยวที่ 4
บทบาทของพื้นที่พิเศษในอนาคต : เส้นทางการท่องเที่ยวในการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เส้นทางที่ 4 เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติ ดำน้ำดูปะการัง เส้นทางท่องเที่ยวที่ 4
พัทยาเหนือ Beachfront Revitalization ทัศนียภาพบริเวณ Landmark Plaza พัทยากลาง ทัศนียภาพบริเวณถนนพัทยาสาย 1
พัทยาใต้ พื้นที่นาเกลือ พื้นที่นาเกลือ พื้นที่นาเกลือ ทัศนียภาพบริเวณทางเดินสู่ลานเจ้าแม่กวนอิม
3. ศูนย์เปลี่ยนถ่ายการจราจร 4,295 4 บาลีฮาย 6,925 - การออกแบบ โครงการที่ยกเลิก โครงการ งบประมาณ (ล้านบาท) 1. รถไฟฟ้าโมโนเรล 2 สาย 8,850 2. รถราง 2 สาย 390 3. ศูนย์เปลี่ยนถ่ายการจราจร 4,295 4 บาลีฮาย 6,925 - การออกแบบ - Board Walk ท่าเรือพัทยา (125) (1,250) - Pattaya Center (สถานีรถไฟฟ้าโนโนเรล) (1,050) - Pattaya Shopping Mall (1,500) - Pattaya on Pier (3,000) รวมงบโครงการที่ยกเลิก 20,460
ภาพรวมการพัฒนาพื้นที่โครงการในระยะเร่งด่วน (1-5 ปี) 1. โครงการพัฒนาพื้นที่เปลี่ยนถ่ายการสัญจร (ยกเลิก) 2. โครงการพัฒนาพื้นที่หน้าหาดพัทยา 3. โครงการพัฒนาพื้นที่แหลมบาลีฮาย (ยกเลิก) 4. โครงการพัฒนาพื้นที่นาเกลือ ยกเลิก รถไฟฟ้าโมโนเรล 2 สาย รถราง 2 สาย
งบประมาณในการลงทุน 15,007.36 ล้านบาท แบ่งออกเป็น เงินลงทุนในระบบคมนาคมขนส่ง จำนวน 12 โครงการ รวม 4,793.5 ล้านบาท 2. เงินลงทุนในระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ จำนวน 14 โครงการ ใน 10 หน่วยงานท้องถิ่น และเกาะล้าน เกาะไผ่ (รวมองค์การบริหารส่วนตำบลนาจอมเทียน) รวม 3,398.348 ล้านบาท 3. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่เมืองพัทยาและถนนเชื่อมโยง จำนวน 16 โครงการ อาทิ - โครงการออกแบบปรับปรุงพื้นที่หน้าหาดพัทยา 1,010 ล้านบาท - โครงการฟื้นฟูพื้นที่นาเกลือ 429 ล้านบาท - โครงการอื่นๆ รวม 2,733 ล้านบาท 4. การพัฒนาด้านวิถีชีวิต ชุมชน และสภาพแวดล้อม จำนวน 90 โครงการ รวม 4,082.512 ล้านบาท
รวมโครงการพัฒนาทั้งหมด 132 โครงการ งบประมาณ 15,007.36 ล้านบาท รัฐลงทุน 13,507.36 ล้านบาท เอกชนลงทุน 1,500.00 ล้านบาท (ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยให้เป็นพลังงาน)
ผลตอบแทนทางการเงิน - นักท่องเที่ยวใช้จ่ายเงินประมาณ 300,000 ล้านบาท - การจ้างงานสำหรับคนในพื้นที่ ประชากรแฝง และแรงงานต่อเนื่องมีการเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยปีละ 10% คิดเป็นประมาณ 128,000 ล้านบาท - ภาครัฐ สามารถเรียกเก็บภาษีเงินได้จากธุรกิจต่อเนื่อง และอัตรารายได้เพิ่ม 50,227 ล้านบาท - รายได้เพิ่มจากการเพิ่มขึ้นของโครงการพิจารณาอัตราการเจริญเติบโตของ GPP ร้อยละ 9 ทำให้มี GPP รวมเพิ่มขึ้น 53,434 ล้านบาท ดังนั้น จะได้รับผลตอบแทนทางการเงินจากการลงทุนโครงการทั้งสิ้น ไม่น้อยกว่า 300,000 ล้านบาท ในปี 2562
เสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา ประกาศเขตพื้นที่พิเศษเมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยงเพิ่มเติมพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลนาจอมเทียน เห็นชอบในหลักการแผนแม่บทการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง จัดตั้งคณะกรรมการประสานนโยบายเพื่อขับเคลื่อนแผนแม่บทฯ ให้นำไปสู่การปฏิบัติ โดยมีรองนายกรัฐมนตรีที่กำกับดูแลเป็นประธาน อพท. เป็นฝ่ายเลขานุการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ ขอรับการจัดสรรงบประมาณตามความจำเป็นจากสำนักงบประมาณ