การสื่อสารกับการนิเทศ (Communication) กลุ่ม 1
สมาชิก นายจำปี โยธารินทร์ รหัส 5383210011 นายจำปี โยธารินทร์ รหัส 5383210011 นายอาทิตย์ ธำรงชัยชนะ รหัส 5383210004 นายพิทย์เศรษฐ์ ปั้นอยู่ รหัส 5383210036 นางภรภิพัด มูลไชย รหัส 5383210024 ผศ.จริยา ปันทวังกูร รหัส 5383210027 น.ส.ประภาสวัส พูลสวัสดิ์ รหัส 5283210047 นายเจตพงศ์ กิตติพร รหัส 5383210020 พระมหาณรงค์ พลญาโณ รหัส 5383210029 กลุ่ม 1 2/18
ความหมายของการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 สรุปได้ว่า การสื่อสารหมายถึง การที่บุคคลผ่ายหนึ่งซึ่งเราเรียกว่า ผู้ส่งสาร (Source) ทำการสื่อสาร (Message) ผ่านช่องทางการสื่อสาร (Channel) ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง คือ ผู้รับสาร (Receiver) 3/18 6/23
ความสำคัญของการสื่อสาร กลุ่ม 1 1. ความสำคัญต่อความเป็นสังคม 2. ความสำคัญต่อชีวิตประจำวัน 3. ความสำคัญต่ออุตสาหกรรมและธุรกิจ 4. ความสำคัญต่อการปกครอง 5. ความสำคัญต่อการเมืองระหว่างประเทศ 4/18
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 ภาษาพูด (วาจา) - คำพูด - เพลง คำกลอน ภาษาเขียน - จดหมาย - คำสั่ง ฯลฯ สัญลักษณ์ รูปภาพ สื่อต่างๆ - วิทยุ - โทรศัพท์ ผู้ส่งสาร สาร(ข้อมูล) ผู้รับสาร ข้อมูลย้อนกลับ
จุดมุ่งหมายของการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 โดยทั่วไปการสื่อสารมีจุดมุ่งหมาย ดังนี้ ให้ข่าวสาร ให้ความรู้ ชักจูงใจ ให้ความบันเทิง 6/18
ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 วัจนะภาษา (Verbal Communication) อวัจนะภาษา (Non-Verbal Communication) 7/18
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 1. อุปสรรคด้านกายภาพ (Physical Barriers) - อุปสรรคด้านกายภาพ ได้แก่ การแปลความหมายไม่ตรงกัน ไม่เข้าใจคำพูด ท่าทางภาษา สัญลักษณ์ที่ส่งออกไปเพื่อการส่งสาร - ความขัดข้องทางเทคนิคของการสื่อความหมาย เช่น ระยะทางที่ไกลเกินไป เครื่องใช้ต่างๆ ขัดข้อง 8/18
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 1. อุปสรรคด้านกายภาพ (Physical Barriers) - การประเมินแหล่งข่าวด้วยประสบการณ์ การรับรู้ และภูมิหลังของผู้รับสารที่แตกต่างกัน ทำให้เข้าใจเรื่องราวได้มากน้อยต่างกันไป - ข้อมูลขัดแย้งกันเอง เช่น พูดอย่าง แต่ทำอย่าง ทำให้ผู้รับสารงุนงงสงสัยหรือไม่เข้าใจ 9/18
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 1. อุปสรรคด้านกายภาพ (Physical Barriers) - การอุดตันของช่องทางการสื่อความหมาย เช่น งานโต๊ะหนึ่งไปยังอีกโต๊ะหนึ่งใช้เวลานานมาก ( Redtape หรือระบบมาตรยาธิปไตยที่เรียกว่า Bureaucracy ) 10/18
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 2. อุปสรรคด้านจิตวิทยา (Psychological Barriers) - คนมักจะฟังในสิ่งที่ตนคาดหวังจะได้ยิน - คนจะแตกต่างกันด้านความรู้ - การไม่เผยแพร่ในสิ่งที่ตนรู้ - อารมณ์จะเป็นตัวกำหนดปฏิกิริยาต่อข่าวสาร - อุปสรรคด้านตัวบุคคล เช่น ใจแคบ เชื่องช้าต่อเหตุการณ์ 11/18
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 - ความแตกต่างระหว่างสถานภาพการทำงาน เช่น ห้องทำงาน โต๊ะทำงาน - ความแตกต่างในภูมิหลัง วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม - ลักษณะและขนาดขององค์การในหน่วยงานต่างๆ - ความเกรงกลัว ไม่กล้าปรึกษาหารือ เพราะเกรงจะ ถูกตำหนิเมื่อผู้บังคับบัญชาพบข้อบกพร่อง 2. อุปสรรคด้านจิตวิทยา (Psychological Barriers) 12/18
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 3. อุปสรรคด้านภาษา (Semantic Barriers) - ภาษาและถ้อยคำที่ใช้ไม่ชัดเจน - ความหมายของคำ ที่ผู้ฟังมีกำหนดไว้ในใจก่อนแล้ว - ผู้ส่งสารมักจะใช้ภาษาของตนเอง และมุ่งแต่ความคิดเห็นของตนเองเป็นใหญ่ โดยมิได้ใส่ใจต่อภาษาของผู้รับสาร และความสามารถในการรับข่าวสารของผู้รับสาร 13/18
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร กลุ่ม 1 3. อุปสรรคด้านภาษา (Semantic Barriers) - ภาษาเฉพาะหรือศัพท์เทคนิคต่างๆ นั้น อาจจะยากไปสำหรับผู้รับสาร เมื่อไม่เข้าใจแล้วไม่ยอมซักถาม ก็เกิดความเข้าใจผิดได้ - การใช้คำหลายคำหรือการพูดชี้แจงละเอียดมากเกินไป อาจจะทำให้ผู้รับสารเกิดความสับสน หรือเข้าใจผิดได้ ทางที่ดีควรอธิบายสั้นๆ กระชับ รัดกุมด้วยภาษาง่ายๆ 14/18
คุณสมบัติของผู้สื่อสารที่ดี กลุ่ม 1 Communication skill Knowledge Attitude Social-Cultural 15/18
การสื่อสารสื่อความหมายกับ การนิเทศการสอน กลุ่ม 1 Communication skill Common Meaning Human Skill 16/18
วิธีการตอบสนอง 5 ลักษณะ (Five Modes of Response) กลุ่ม 1 Asking clarifying questions Paraphrasing Perception Checking Offering Information Active, Attentive Listening 17/18
References ปราชญา กล้าผจัญ. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. มหาวิทยาลัย กลุ่ม 1 ปราชญา กล้าผจัญ. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. มหาวิทยาลัย รามคำแหง. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง, 2550. ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. EA 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทาง การศึกษา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง, 2547. สุธีรา สุริยวงศ์. มนุษยสัมพันธ์สำหรับผู้บริหารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. มิตรภาพ การพิมพ์และสติวดิโอจำกัด, มปป. สำเร็จ ยุรชัย. การบริหารและการนิเทศการศึกษาขั้นสูง. มหาวิทยาลัยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. มปป. 18/18