ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล การกำหนดโครงสร้างข้อมูล การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การเรียกค้นข้อมูล
การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล โครงสร้างของภาษาเอสคิวแอล (Structured Query Language) สามารถสร้างและปฏิบัติการกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โดยเฉพาะ พัฒนาขึ้นมาจากแนวคิดของ relational calculus และ relational algebra
การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ประเภทของคำสั่งของภาษา SQL ภาษาสำหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL)
การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL ตัวหนังสือ ความยาวคงที่ (Fixed-length Character) จะใช้ char(n) หรือ character(n) ความยาวไม่คงที่ (Variable-length Character) จะใช้ varchar(n) จำนวนเลข มีจุดทศนิยม (Decimal) จะใช้ dec(m,n) หรือ decimal(m,n) ไม่มีจุดทศนิยม (Integer) จะใช้ int, integer (10 หลัก) หรือ smallint (5หลัก) เลขจำนวนจริง (Number) จะใช้ number(n)
การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL ข้อมูลในลักษณะอื่นๆ วันที่และเวลา (Date/Time)
การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ลักษณะการใช้งานของภาษา SQL ภาษา SQL ที่ตอบโต้ได้ ใช้เพื่อปฏิบัติงานกับฐานข้อมูลโดยตรง ภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความสามารถของภาษา SQL ให้มากยิ่งขึ้น
การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล ตาราง สร้างตาราง CREATE TABLE <table name> (<column_name><>[<size>][[constraint<constraint name>]constraint type] [column name>data type>[<size>],…]); ลบตาราง DROP TABLE <table name>[CASECADE CONSTRAINTS];
การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ตาราง เปลี่ยนแปลงโครงสร้างตาราง ALTER TABLE <table name> Database update (<column name> data type [size]);
การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ดัชนี สร้างดัชนี CREATE INDEX <index name> on <table name>(<column>name>[,<column name>]..); ลบดัชนี DROP INDEX <index name>;
การบันทึก ปรับปรุง ลบและการเรียกข้อมูล การบันทึกข้อมูล ปรับปรุง และการลบข้อมูล เพิ่มข้อมูลทีละแถว INSERT INTO <table name>[(column1, column2,….)] values (<value1, value2,…>); เพิ่มข้อมูลโดยการใช้คำสั่งค้นหาข้อมูล SELECT statement;
การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูล ปรับปรุงแถวข้อมูล UPDATE <table name> SET<column1>[, column2, ...)]=<expression|subquery> [WHERE <condition>]; ลบข้อมูลทั้งแถว DELETE FROM <table name>
การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูล การเรียกค้นข้อมูลอย่างง่าย SELECT <column1, column2,…> FROM <table name> [WHERE <condition>];
การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูล โอเปอร์เรเตอร์ สามารถแยกออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์ ได้แก่ plus(+), minus(-), divide(/), multiply(*), modula(%) โอเปอเรเตอร์เปรียบเทียบ จะได้ค่ากลับคืนมา 3 ค่า คือ TRUE, FALSE และ UNKNOW (ในกรณีค่าที่เปรียบเทียบเป็น Null) โอเปอเรเตอร์อักขระ ได้แก่ LIKE ใช้ร่วมกับ ‘%’ หรือ ‘_’ โอเปอเรเตอร์ตรรกะ ได้แก่ AND, OR, NOT, IN, BETWEEN…AND
การเรียกค้นข้อมูล ฟังก์ชัน มีทั้งหมด 6 ประเภท คือ ฟังก์ชันในการรวม (Aggregate functions) COUNT, SUM, AVG, MAX, MIN ฯลฯ ฟังก์ชันวันและเวลา (Date and tune functions) ADD_MONTHS, LAST_DAY, MONTHS_BETWEEN ฯลฯ ฟังก์ชันคณิตศาสตร์ (Arithmetic functions) ABS, EXP, ฟังก์ชันทางตรีโกณ, LN, LOG, MOD, SQRT ฯลฯ
การเรียกค้นข้อมูล ฟังก์ชันตัวอักขระ (Character functions) CHR, CONCAT, LOWER, UPPER, REPLACE, SUBSTR ฯลฯ ฟังก์ชันการแปลง (Converter functions) TO_CHAR, ฟังก์ชันอื่นๆ (Miscellaneous functions)
การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การเรียกดูข้อมูลโดยใช้ฟังก์ชันรวม เป็นการจัดกลุ่มข้อมูลโดยใช้คำสั่ง GROUP BY SELECT <column1, column2, …> FROM <table name> [WHERE <condition>] [GROUP BY <grouping column>] [HAVING <condition>]
การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การเรียกดูข้อมูลจากหลายตาราง เป็นการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตารางทั้งหลาย ซึ่งสามารถ เชื่อมต่อข้อมูลกันโดยการใช้คำสั่ง WHERE
การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การเรียกดูข้อมูลแบบซ้อนกัน เป็นการสร้างคำสั่ง SELECT ซ้อนกัน เพื่อลดภาระการเชื่อมตาราง ซึ่งต้องใช้หน่วยความจำเป็นจำนวนมาก SELECT [*] <column1, column2, …> FROM <table name> [WHERE <column_list = <Select Statement>]