งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 1
Online available at

2 Contents ความหมายของ SQL ประเภทของภาษา SQL
DDL (Data Definition Language) DML (Data Manipulation Language) DCL (Data Control Language) ความรู้เบื้องต้นของระบบจัดการฐานข้อมูล MySql 2

3 Introduction to Structured Query Language (SQL)
SQL ได้รับการพัฒนาครั้งแรก San Jose Research Laboratory ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อสถาบันนี้เป็น Almaden Research Center ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งใน IBM แรกเริ่ม “SQL” เรียกว่า “SEQUEL” ซึ่งย่อมาจาก “Structured English QUEry Language”

4 Introduction to Structured Query Language (SQL)

5 Introduction to Structured Query Language (SQL)

6 Introduction to Structured Query Language (SQL)

7 ประเภทของคําสั่งของภาษา SQL
ภาษาสําหรับการนิยามขอมูล (Data Definition Language : DDL) ภาษาสําหรับการจัดการขอมูล (Data Manipulation Language : DML) ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL)

8 A simplified schematic of a typical SQL
environment, as described by the SQL-2003 standard

9 DDL, DML, DCL, and the database development process

10 ความรู้เบื้องต้นของระบบจัดการฐานข้อมูล MySql

11 ชนิดข้อมูลใน MySQL (Data Types)
จำนวนตัวเลขใน MySQL มี 2 กลุ่ม คือ signed (จำนวนบวกและลบ) และ unsigned (จำนวนบวก) ถ้าไม่กำหนดจะมี default คือ signed Numeric Data Types TINYINT เลขจำนวนเต็ม ถ้าเป็น signed มีค่าตั้งแต่ -128 ถึง 127 ถ้าเป็น unsigned มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 255 SMALLINT เลขจำนวนเต็ม ถ้าเป็น signed มีค่าตั้งแต่ ถึง ถ้าเป็น unsigned มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 65535

12 ชนิดข้อมูลใน MySQL (Data Types)
MEDIUMINT เลขจำนวนเต็ม ถ้าเป็น signed มีค่าตั้งแต่ ถึง ถ้าเป็น unsigned มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง INT / INTEGER เลขจำนวนเต็ม ถ้าเป็น signed มีค่าตั้งแต่ ถึง ถ้าเป็น unsigned มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง BIGINT เลขจำนวนเต็ม ถ้าเป็น signed มีค่าตั้งแต่ ถึง ถ้าเป็น unsigned มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง

13 ชนิดข้อมูลใน MySQL (Data Types)
FLOAT เลขจำนวนทศนิยม ถ้าเป็น signed มีค่าตั้งแต่ E+38 ถึง E-38 ถ้าเป็น unsigned มีค่าตั้งแต่ E-38 ถึง E+38 และรวมค่า 0 ด้วย DOUBLE เลขจำนวนทศนิยม ถ้าเป็น signed มีค่าตั้งแต่ E+308 ถึง E-308 ถ้าเป็น unsigned มีค่าตั้งแต่ E-308 ถึง E+308 และรวมค่า 0 ด้วย 1. dec(m,n) หรือ decimal(m,n) เป็นประเภทข้อมูลที่เป็นจำนวนเลขที่มีจุดทศนิยมโดย m คือจำนวนตัวเลขทั้งหมด (รวมจุดทศนิยม) และ n คือจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยม

14 ชนิดข้อมูลใน MySQL (Data Types)
Date and Time Data Types DATE วันที่ ซึ่งมีรูปแบบวันที่ คือ YYYY-MM-DD มีค่าตั้งแต่ ถึง DATETIME วันที่และเวลา ซึ่งมีรูปแบบ คือ YYYY-MM-DD HH:MM:SS มีค่าตั้งแต่ :00:00 ถึง :59:59 TIMESTAMP เป็นชนิดข้อมูลที่มักใช้ในการเก็บวันที่และเวลาที่เกิดกิจกรรมในฐานข้อมูล

15 ชนิดข้อมูลใน MySQL (Data Types)
Date and Time Data Types TIME เวลา ซึ่งมีรูปแบบ คือ HH:MM:SS มีค่าตั้งแต่ -838:59:59 ถึง 838:59:59 YEAR[2|4] ปี ซึ่งมีรูปแบบ คือ แบบย่อ YY มีค่าตั้งแต่ และ 00 หมายถึง ปี 1970 – ปี 2069 แบบเต็ม YYYY มีค่าตั้งแต่ และ 0000

16 ชนิดข้อมูลใน MySQL (Data Types)
String Data Types CHAR เก็บข้อมูลชนิดตัวอักษรแบบ fixed-length ใช้เก็บข้อมูลตัวอักษรที่มีความยาวคงที่ VARCHAR เก็บข้อมูลชนิดตัวอักษรแบบ variable-length ใช้เก็บข้อมูลตัวอักษรที่มีความยาวไม่คงที่ TEXT เก็บข้อมูลชนิดตัวอักษรมีค่าเกิน 8 KB 1. ตัวหนังสือแบบความยาวคงที่(fixed-length character) จะใช้ char (n) หรือ character(n) แทนประเภทของข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือใดๆที่มีความยาวของข้อมูลคงที่โดยมีความยาว n ตัวหนังสือประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่ตามความยาวที่คงที่ตามที่กำหนดไว้ ชนิดของข้อมูลประเภทนี้จะเก็บความยาวของข้อมูลได้มากที่สุดได้ 255 ตัวอักษร 2. ตัวหนังสือแบบความยาวไม่คงที่(variable-length character) จะใช้ varchar (n) แทนประเภทของข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือใดๆที่มีความยาวของข้อมูลไม่คงที่ โดยมีความยาว n ตัวหนังสือประเภทนี้จะมีการจองเนื้อที่ตามความยาวของข้อมูล ชนิดของข้อมูลประเภทนี้จะเก็บความยาวของข้อมูลได้มากที่สุดได้ 4000 ตัวอักษร

17 คำสั่งสำหรับใช้สร้างตาราง
Syntax CREATE TABLE table_name (column_name datatype [NOT NULL], [column_name datatype [NOT NULL]] [CONSTRAINT constrain_name PRIMARY KEY (key_column)], [CONSTRAINT constrain_name FOREIGN KEY (key_column) REFERENCES reference_table(key_column)]);

18 คำสั่งสำหรับใช้สร้างตาราง
CREATE TABLE เป็นคำสั่ง SQL มาตรฐานที่ใช้สำหรับสร้างตารางขึ้นมา table_name ชื่อตารางที่ทำการสร้างขึ้นมา column_name การตั้งชื่อของแอทริบิวท์ให้กับคอลัมน์ตามที่ได้ออกแบบมา datatype ชนิดของข้อมูลในคอลัมน์ที่ทำการจัดเก็บ NOT NULL ใช้เป็นข้อกำหนดไม่ให้ค่าในคอลัมน์นี้มีค่าเป็นค่าว่าง CONSTRAINT กำหนดข้อบังคับต่าง ๆ เพื่อควบคุมความถูกต้องของข้อมูลในตาราง

19 คำสั่งสำหรับใช้สร้างตาราง
constraint_name ตั้งชื่อให้ Constraint ซึ่งจะใช้อ้างในการใช้งานในภายหลัง PRIMARY KEY กำหนด Primary_key ให้กับตาราง key_column ชื่อคอลัมน์ที่เป็น Primary_key หรือ Foreign_key FOREIGN KEY กำหนด Foreign_key ให้กับตาราง REFERENCES ใช้กำหนดชื่อคอลัมน์และตารางที่ Foreign Key อ้างถึง reference_table ชื่อตารางที่ Foreign Key อ้างถึง

20 พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
Relation Attribute Description Type Size PK FK Student StudentID รหัสนิสิต varchar 8 Yes - Name ชื่อ-นามสกุลนิสิต 120 Birthdate วัน/เดือน/ปีเกิด Date/Time Class กลุ่มเรียน 3 Advisor อาจารย์ที่ปรึกษา Club ชมรม

21 พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
Relation Attribute Description Type Size PK FK Subject SubjectID รหัสวิชา varchar 8 Yes - Name ชื่อวิชา 120 Credit หน่วยกิต Double Teacher อาจารย์ผู้สอน Textbook ชื่อหนังสือ

22 พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
Relation Attribute Description Type Size PK FK Student_ Subject StudentID รหัสนิสิต varchar 8 Yes SubjectID รหัสวิชา Grade เกรดที่ได้ 1 - Score คะแนนที่ได้ Double Term ภาคการศึกษา 6

23 คำสั่ง SQL Command ในการสร้างตาราง Student แบบที่ 1
CREATE TABLE STUDENT (StudentID varchar(8), Name varchar(120), Birthdate date, Class varchar(3), Advisor varchar(120), Club varchar(120), CONSTRAINT student_pk PRIMARY KEY (StudentID));

24 คำสั่ง SQL Command ในการสร้างตาราง Student แบบที่ 2
CREATE TABLE STUDENT (StudentID varchar(8), Name varchar(120), Birthdate date, Class varchar(3), Advisor varchar(120), Club varchar(120), PRIMARY KEY (StudentID));

25 คำสั่ง SQL Command ในการสร้างตาราง Subject แบบที่ 1

26 คำสั่ง SQL Command ในการสร้างตาราง Subject แบบที่ 2

27 คำสั่ง SQL Command ในการสร้างตาราง Student_Subject แบบที่ 1

28 คำสั่ง SQL Command ในการสร้างตาราง Student_Subject แบบที่ 2

29 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
เพิ่มคอลัมน์ใหม่ให้กับตารางที่มีอยู่แล้ว แก้ไขชนิดข้อมูลหรือขนาดของข้อมูลในคอลัมน์ ลบคอลัมน์ที่ไม่จำเป็นต้องใช้ออกไป ลบ Constraint ที่ใช้ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล กำหนด Constraint ใหม่ให้กับตาราง ลบตารางออกจากฐานข้อมูล

30 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
เพิ่มคอลัมน์ใหม่ให้กับตารางที่มีอยู่แล้ว Syntax ALTER TABLE table_name ADD column_name datatype; ตัวอย่าง ALTER TABLE Student ADD Address char(255);

31 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
แก้ไขชนิดข้อมูลหรือขนาดของข้อมูลในคอลัมน์ Syntax ALTER TABLE table_name ALTER column_name datatype; ตัวอย่าง ALTER TABLE Student ALTER Address char(100);

32 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
แก้ไขชนิดข้อมูลหรือขนาดของข้อมูลในคอลัมน์ Syntax ALTER TABLE table_name CHANGE column_name column_name datatype; ตัวอย่าง ALTER TABLE Student CHANGE Address Address char(100); อ้างอิงคำสั่งใน mySQL ใช้ CHANGE แทน ALTER

33 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
ลบคอลัมน์ที่ไม่จำเป็นต้องใช้ออกไป Syntax ALTER TABLE table_name DROP COLUMN column_name ; ตัวอย่าง ALTER TABLE Student DROP COLUMN Address;

34 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
ลบ Constraint ที่ไม่จำเป็นต้องใช้ออกไป Syntax ALTER TABLE table_name DROP CONSTRAINT Foreign_name ; ตัวอย่าง ALTER TABLE Student_Subject DROP CONSTRAINT stusub_fk1;

35 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
กำหนด Constraint ใหม่ให้กับตาราง Syntax ALTER TABLE table_name ADD CONSTRAINT Foreign_name FOREIGN KEY (column_name) REFERENCES Table_name(column_name);

36 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
กำหนด Constraint ใหม่ให้กับตาราง ตัวอย่าง ALTER TABLE Student_Subject ADD CONSTRAINT stusub_fk1 FOREIGN KEY (studentID) REFERENCES Student(studentID);

37 คำสั่งสำหรับใช้แก้ไขโครงสร้างตาราง
ลบคอลัมน์ที่ไม่จำเป็นต้องใช้ออกไป Syntax DROP TABLE table_name; ตัวอย่าง DROP TABLE Student;


ดาวน์โหลด ppt SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google