Work Shop การประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของ มฟล. (VFM) ส่วนนโยบาย และแผน พ.ศ. ๒๕๕๔ 28-30 March 2011
การประเมินความคุ้มค่า Unit Cost แนวคิดเหมาโหลถูกกว่า จะใช้ได้ต่อเมื่อได้ใช้หมด ของเก่าหมดอายุ เสียมูลค่า เกิดการสั่งซื้อซ้ำซ้อน (ต้นทุนแฝง - ซื้อแล้วไม่ได้ใช้) 7 Wastes ex: การรอคอย การขนย้าย สูญเสียพื้นที่ การเก็บรักษา ผลประโยชน์จะเห็นชัดถ้าทำเป็นตัวเงิน ผลประโยชน์ ทางตรง – ทางอ้อม (เป็นตัวเงิน - ไม่เป็นตัวเงิน) ค่าใช้จ่ายที่เป็นตัวเงิน – ค่าใช้จ่ายเชิงผลกระทบ เงินที่ไม่ต้องควักออก ถือเป็นผลประโยชน์ประเภทหนึ่ง ดูที่ส่วนต่างผลประโยชน์ ประหยัดค่าใช้จ่าย ต่อหัว ต่อปี man power ประหยัดเวลา ลดปริมาณงานที่จะต้อง process สร้างความสงบสุข ความพึงพอใจ
VFM พรฎ. มาตรา 21-23 Self Control ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ผลทางบวก ผลทางลบ เป็นตัวเงิน ไม่เป็นตัวเงิน ประโยชน์ Outcome + Impact ทางบวก ประโยชน์ ที่เป็นตัวเงิน /ไม่เป็นตัวเงิน Output ประสิทธิภาพ ผลกระทบ Impact ผลกระทบทางลบ Cost ค่าใช้จ่าย Self Control
Output * Outcome * Impact Example Output สัดส่วนงานวิจัย สิทธิบัตร ความรู้ วิทยฐานะ เกิดจิตสำนึก ความคุ้นชิน คุณลักษณะ เงิน Outcome การกระจายความรู้สู่วงกว้าง คุณภาพ องค์ความรู้ มาตรฐาน ได้รับการธำรง ต่อลมหายใจ Impact การนำไปใช้ ลดการนำเข้า สนับสนุนผลผลิตทางการเกษตร คุณค่า มูลค่า ดูแล ชี้นำ ผลักดัน คุณภาพชีวิต ต่อชุมชน ต่อชาติ ต่อโลก
ตัวชี้วัดหลัก / เพิ่มเติม Output Outcome Impact ประสิทธิผล ขึ้นอยู่กับ เป้าประสงค์ End User ผู้รับบริการพอใจ นายจ้างพอใจ ไม่ใช่แค่ ผู้เข้าอบรมพอใจ ตัวชี้วัดเพิ่มเติม (บังคับ) Benefit – Cost Ratio จะถอดออกมาได้ถ้ามี Outcome ชัด Cost – Effectiveness แสดงเป็นปริมาณได้ เช่น 80% สามารถทำงานใช้ภาษาต่างประเทศได้ (ไม่สามารถตีเป็นตัวเงิน) QQCT เอกสารงบประมาณ ต้นน้ำ (Output) Quantity / Quality ขั้นต่ำ / Cost / Time VFM ปลายน้ำ ดูสิ่งที่จบไปแล้ว ว่าคุ้มไม่คุ้ม ไม่แคร์ว่าขอเท่าไร แต่ดูว่าใช้จริงเท่าไร ได้ผลเท่าไร สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายหรือไม่ PART ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ
VFM step 1 กำหนดผลผลิต ฟอร์ม 3.1 แบ่งตามเป้าหมายการให้บริการ ตอบภายนอก หลัก โดยตรง ตอบกันเอง ภายใน ปันส่วน ไม่เข้าข่าย ทบทวนและกำหนดตัวชี้วัด และระดับความสมบูรณ์ของข้อมูล VFM step 2 กำหนดตัวชี้วัด ฟอร์ม 3.2 ปรับให้สะท้อนกัน Output ส่งหา Outcome และ ส่งหา Impact ตรรกะของเป้าหมายและตัวชี้วัด นำไปสู่การนำเสนอขอเพิ่มตัวชี้วัดใหม่ Step 3 Cost – Benefit , 4 วิเคราะห์ ประเมิน Value, 5 ข้อเสนอแนะ
VFM step 3 กำหนดผลตอบแทนและค่าใช้จ่าย ฟอร์ม 3.3 เน้นผลตามจริง (แยก ตรง / อ้อม ขึ้นกับเจตนารมณ์) ผลประโยชน์ 1.1 ตรง ผลประโยชน์ทางตรงที่คิดเป็นเงินได้ ให้การศึกษา ความรู้ 1.2 อ้อม อานิสงส์ ไม่ได้เจตนาทำเป็นเรื่องหลัก แต่ได้มาเป็นเงิน เช่น ค่าเข้าชม การท่องเที่ยว 1.3 วัดเป็นเงินไม่ได้ ทั้งตรงและอ้อม (แสดงเป็นเชิงปริมาณ) ค่าใช้จ่าย 2.1 ได้มาโดยตรง (เงิน) 2.2 หาเอง (เงิน) 2.3 คนอื่นออกให้ (เงิน) 2.4 ผลกระทบทางลบ (ไม่ใช่เงิน) ฟอร์ม 3.4
ค่าใช้จ่าย (ปันส่วน / ไม่ปันส่วน) นอกงบ / ในงบ ให้สอดคล้องกันกับผลที่ได้ เมื่อรวมเป็นก้อนใหญ่ สะท้อนผลผลิต ตามจริง ไม่มีการใช้ซ้ำ ไม่ปันส่วน – อาจจะทำให้บางส่วนผลิต มี BE ต่ำ เพราะแบกต้นทุนเกินจริง ปันแบบง่าย – หารเท่าๆกัน ปันส่วนละเอียด – ตามต้นทุนกิจกรรม (สภาพัฒนฯ เน้นตรงนี้ สะท้อนต้นทุนจริง)
VFM step 4 วิเคราะห์และประเมินผลความคุ้มค่า ฟอร์ม 3.5 เทียบกับเป้าหรือเทียบกับปีที่ผ่านมา B / C CE Impact ผลลบ อยู่ใน 2.4 ผลบวก อยู่ใน 3.5 กระทบต่อกระทรวงเป็นหลัก เช่น ต่อจำนวนประชากร ระวังอย่าให้เป็นเชิง Outcome, Impact สามารถข้ามกระทรวงได้
VFM step 5 จัดทำข้อเสนอแนะจาการประเมินความคุ้มค่า ตาม Report Template แก้ไขเฉพาะตัวอักษรสีน้ำเงิน ตัวอักษรสีดำให้คงไว้ แสดงกราฟจำแนกตามผลผลิต สรุปรวม
KPI ตัวชี้วัด ต้องสะท้อนสิ่งที่เราจะทำ นำไปสู่เครื่องมือวัด / ประเมิน ที่เหมาะสม หลักเหตุและผล (Leading & Lagging) ควรเน้น Lagging ถ้าเป็นงานหลักของเรา นำไปสู่ VFM ที่มีค่าสูง แต่จะใช้แบบ Leading ก็ได้ถ้าไม่ใช่งานหลัก เมื่อมองหาผลที่ถูกต้อง ก็จะนำไปสู่เหตุที่เหมาะสม ช่วยแก้ปัญหาได้ หลักกระบวนการทำงาน (Input – Process – Output – Outcome – Impact) ต้องการ Impact / Outcome สูง ก็จะทำให้ Process เข้มข้นขึ้น ดังนั้นต้องขึ้นอยู่กับ Theme ขององค์กรนั้นๆ ต้องการอย่างไร VARS: Validity / Availability / Reliability / Sensitivity Output: KPI QQCT Outcome: KPI Lagging KPI Impact: KPI Impact KPI