โครงการ จัดระบบการปลูกข้าว ปี ๒๕๕๕

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ประเด็นการตรวจติดตาม
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
ระบบการปลูกข้าวใหม่ ของประเทศไทย
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการเร่งรัฐปฏิบัติการด่วน (เพื่อคนไทย) หรือโครงการปฏิบัติการประชาวิวัฒน์ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมและเป็นธรรม.
๑. ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือน มีนาคม - พฤษภาคม ใน ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน - กันยายน ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน -
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
โครงการกลุ่มจังหวัด ๕๕ มิติภาคการเกษตร
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
สุริชาติ สมวัฒนศักดิ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ยอดธงไชย รอดแก้ว
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
งานการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร และ งานโครงการช่วยเหลือเยียวยา โดย ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ผลการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
การประชุมคณะอนุกรรมการ
แผน-ผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๓ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ ณ.
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ จัดระบบการปลูกข้าว ปี ๒๕๕๕ นำเสนอวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๔ โดย.. นายชาญพิทยา ฉิมพาลี รองอธิบดีกรมการข้าว

ความเดิม คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบโครงการจัดระบบการปลูกข้าวเมื่อวันที่ ๒๘ ก.ย. ๒๕๕๓ คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบการปรับช่วงเวลา เป้าหมาย และงบประมาณแผนงานโครงการจัดระบบการปลูกข้าวเมื่อวันที่ ๒๒ มี.ค. ๒๕๕๔

สภาพปัญหา ๑. วิกฤตน้ำ เกิดภาวะน้ำท่วม และขาดแคลนน้ำชลประทาน ๒. วิกฤตดิน ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม เนื่องจากไม่มีการพักแปลงนาและทำการปรับปรุงบำรุงดิน ๓. วิกฤตศัตรูข้าว เกิดการสะสม ระบาดของโรคและแมลง เพราะศัตรูพืชมีอาหารกินตลอดเวลา ๔. ระบบนิเวศในนาข้าวถูกทำลาย เพราะมีการใช้สารเคมีในปริมาณที่สูงจึงทำลายสิ่งมีชีวิตทุกอย่างในพื้นนา

วัตถุประสงค์โครงการ ๑. เพื่อจัดระบบการปลูกให้มีการปลูกข้าว ปีละไม่เกิน ๒ ครั้ง โดยงดเว้นการปลูกข้าว แบบต่อเนื่องทั้งปี และปลูกข้าวพร้อมกัน ในพื้นที่โครงการชลประทานเดียวกัน ๒. เพื่อให้มีการใช้น้ำไม่เกินปริมาณน้ำต้นทุน ที่มีอยู่ ๓. เพื่อตัดวงจรการระบาดของศัตรูข้าว ๔. เพื่อรักษาระบบนิเวศน์ในนาข้าวให้มีความ สมดุล ๕. ลดต้นทุนการผลิตข้าว และแก้ปัญหาทรัพยากรดิน เสื่อมโทรม

มาตรการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปีเพาะปลูก ๒๕๕๔/๕๕ (ด้านการเกษตร) ข้าวนาปรัง ๑. ลดต้นทุนการปลูกข้าว - การใช้ข้าวพันธุ์ดีและเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม - การใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าการวิเคราะห์ดินและส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และสารชีวภาพ - ลดการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช ๒. เพิ่มคุณภาพผลผลิต - ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม - เฝ้าระวังการระบาดของศัตรูข้าว เช่น เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โรคข้าว ข้าววัชพืช และวัชพืชในนาข้าว เป็นต้น เพื่อการป้องกันกำจัดหากเกิดการระบาดขึ้น ๓. โครงการจัดระบบการปลูกข้าว มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำต้นทุน แผนการส่งน้ำของโครงการชลประทานตามระบบการปลูกข้าวที่เกษตรกรตัดสินใจเลือก

การบูณาการโครงการจัดระบบการปลูกข้าวสนับสนุน นโยบายและมาตรการส่งเสริมการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง นโยบายและมาตรการส่งเสริมการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งปี ๒๕๕๔/๕๕ ปลูกรวม ๑๙.๒๓ ล้านไร่ (นาปรัง ๑๖.๗๐ ล้านไร่ และพืชไร่-พืชผัก ๒.๕๓ ล้านไร่ ด้านการเกษตร ด้านบริหารจัดการน้ำ ข้าวนาปรัง พืชไร่-พืชผัก โครงการจัดระบบการปลูกข้าว พื้นที่จัดระบบ รวม ๔.๖ ล้านไร่ - ปี ๒๕๕๔ ๑ แสนไร่ - ปี ๒๕๕๕-๕๗ ๔.๕ ล้านไร่ (ปีละ ๑.๕ ล้านไร่) ปรับปรุงบำรุงดิน (ปลูกพืชปุ๋ยสด/พืชหลังนา) ตัดวงจรการระบาดของศัตรูข้าว ลดการใช้สารเคมี ลดต้นทุน/เพิ่มผลผลิตข้าว (ให้ความรู้เทคโนโลยีที่เหมาะสม) รักษาระบบนิเวศในนาข้าว บริหารจัดการแผนการส่งน้ำตาม การจัดระบบการปลูกข้าว ปีละ ๒ ครั้ง บริหารจัดการน้ำต้นทุนที่มีอยู่อย่าง มีประสิทธิภาพ

พื้นที่เป้าหมายโครงการ ปี ๒๕๕๕ พื้นที่ดำเนินการจัดระบบการปลูกข้าว ๑.๕ ล้านไร่ ในเขตชลประทาน ๑๐ จังหวัด รวม ๑๗ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา/โครงการชลประทาน ได้แก่ จังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี และอ่างทอง - ถั่วเขียว ๗๐๐,๐๐๐ ไร่ - พืชหลังนาชนิดอื่นๆ ๑๕๐,๐๐๐ ไร่ - พืชปุ๋ยสด ๑๕๐,๐๐๐ ไร่ - ปลูกข้าวพร้อมกัน ๕๐๐,๐๐๐ ไร่ ในพื้นที่เดียวกัน

พื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงานโครงการจัดระบบการปลูกข้าว ปี ๒๕๕๕ ลำดับที่ โครงการ พื้นที่ชลประทาน (ไร่) พื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕ (ไร่) จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมใน ปี ๒๕๕๕ กำหนดระยะเวลาที่จัดเวทีชุมชนรับฟังความคิดเห็น จำนวนครั้งที่จัดสัมมนา ช่วงเวลาปลูกพืชหลังนา/พืชปุ๋ยสด ๑ บรมธาตุ ๓๖๗,๙๐๐ ๑๒๐,๐๐๐ ๖,๐๐๐ ก.พ. - มี.ค. ๕๕ ๒๐ ๑ เมษายน - ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๒ ชัณสูตร ๔๗๕,๐๐๐ ๑๒๗,๐๐๐ ๖,๓๐๐ เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๓ ยางมณี ๒๐๗,๔๒๑ ๘๐,๗๒๙ ๒,๗๑๐ ๑๒ ๔ มโนรมย์ ๒๖๒,๒๘๑ ๙๖,๔๓๔ ๓,๔๑๐ ๑๑ ๕ ช่องแค ๒๓๘,๐๐๐ ๔๑,๔๖๙ ๑,๑๘๘ ๖ โคกกะเทียม ๑๙๖,๐๐๐ ๗,๒๓๙ ๔๓๐ พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕ ๗ เริงราง ๑๗๓,๐๐๐ ๘๐,๗๘๑ ๒,๒๓๓ ๑๓ ๘ มหาราช ๔๒๒,๐๐๐ ๑๕๓,๘๗๑ ๕,๒๕๐ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๕ ๙ คลองเพรียว-เสาไห้ ๑๓๕,๓๐๐ ๒๘,๔๖๔ ๑,๐๙๔ ๑๐ ป่าสักใต้ ๒๔๐,๐๐๐ ๒๗,๗๒๑ ๑,๒๐๐ นครหลวง ๑๘๓,๘๓๘ ๑๙,๗๖๙ ๔๗๕ มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ เขื่อนนเรศวร ๙๔,๘๐๐ ๓๕,๒๐๐ ๓๕๐ ๑ กันยายน - ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ พลายชุมพล ๒๑๘,๐๐๐ ๘๕,๔๐๖ ๒,๒๔๕ สิงหาคม - พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ๑๔ ดงเศรษฐี ๑๘๖,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๑,๑๒๐ มี.ค. ๕๕ ๑๕ ท่าบัว ๑๖๘,๔๐๐ ๘๐,๘๔๐ ๑,๘๔๗ ๑๖ ชป.กำแพงเพชร ๗๔๗,๙๗๑ ๔๑๑,๕๐๓ ๑๒,๘๓๓ ธ.ค. ๕๔ - มี.ค. ๕๕ ๖๔ ๑๗ ชป.นครสวรรค์ ๖๐๖,๔๔๖ ๓๗,๐๐๐ ๕๕๐ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๕   รวม ๔,๙๒๒,๓๕๗ ๑,๔๖๓,๔๒๖ ๔๙,๒๓๕ ๑๙๘ พื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงานโครงการจัดระบบการปลูกข้าว ปี ๒๕๕๕ พื้นที่ชลประทาน (ไร่) โครงการ ลำดับที่ พื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕ (ไร่) กำหนดระยะเวลาที่จัดเวทีชุมชนรับฟังความคิดเห็น จำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมใน ปี ๒๕๕๕ ช่วงเวลาปลูกพืชหลังนา/พืชปุ๋ยสด จำนวนครั้งที่จัดสัมมนา บรมธาตุ ๑ ๓๖๗,๙๐๐ ๑๒๐,๐๐๐ ก.พ. - มี.ค. ๕๕ ๖,๐๐๐ ๑ เมษายน - ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๒๐ ชัณสูตร ๒ ๑๒๗,๐๐๐ ๔๗๕,๐๐๐ ๖,๓๐๐ เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๕๕ ยางมณี ๓ ๒๐๗,๔๒๑ ๘๐,๗๒๙ ๒,๗๑๐ ๑๒ ๒๖๒,๒๘๑ มโนรมย์ ๔ ๙๖,๔๓๔ ๓,๔๑๐ ๑๑ ๒๓๘,๐๐๐ ช่องแค ๕ ๔๑,๔๖๙ ๑,๑๘๘ โคกกะเทียม ๖ ๑๙๖,๐๐๐ ๗,๒๓๙ ๔๓๐ พฤษภาคม - มิถุนายน ๒๕๕๕ ๗ ๘๐,๗๘๑ ๑๗๓,๐๐๐ เริงราง ๒,๒๓๓ ๑๓ มหาราช ๘ ๑๕๓,๘๗๑ ๔๒๒,๐๐๐ ๕,๒๕๐ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๕ คลองเพรียว-เสาไห้ ๙ ๒๘,๔๖๔ ๑๓๕,๓๐๐ ๑,๐๙๔ ป่าสักใต้ ๑๐ ๒๗,๗๒๑ ๒๔๐,๐๐๐ ๑,๒๐๐ ๑๘๓,๘๓๘ นครหลวง ๑๙,๗๖๙ ๔๗๕ มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ เขื่อนนเรศวร ๙๔,๘๐๐ ๓๕,๒๐๐ ๓๕๐ ๑ กันยายน - ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ พลายชุมพล ๒,๒๔๕ ๘๕,๔๐๖ ๒๑๘,๐๐๐ สิงหาคม - พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ๑๘๖,๐๐๐ ดงเศรษฐี ๑๔ มี.ค. ๕๕ ๑,๑๒๐ ๓๐,๐๐๐ ๑๕ ๘๐,๘๔๐ ๑๖๘,๔๐๐ ท่าบัว ๑,๘๔๗ ชป.กำแพงเพชร ๑๖ ๗๔๗,๙๗๑ ธ.ค. ๕๔ - มี.ค. ๕๕ ๑๒,๘๓๓ ๔๑๑,๕๐๓ ๖๔ ชป.นครสวรรค์ ๑๗ ๓๗,๐๐๐ ๖๐๖,๔๔๖ ๕๕๐ กุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๕๕   ๔,๙๒๒,๓๕๗ รวม ๑,๔๖๓,๔๒๖ ๔๙,๒๓๕ ๑๙๘

วิธีการดำเนินงาน รูปแบบการจัดระบบการปลูกข้าว ปี ๒๕๕๕ รูป แบบที่ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา แผนการเพาะปลูกพืช/แผนการส่งน้ำ มี.ค.๕๕ เม.ย.๕๕ พ.ค.๕๕ มิ.ย.๕๕ ก.ค.๕๕ ส.ค.๕๕ ก.ย.๕๕ ต.ค.๕๕ พ.ย.๕๕ ธ.ค.๕๕ ม.ค.๕๖ ก.พ.๕๖ มี.ค.๕๖ เม.ย.๕๖ พ.ค.๕๖ ๑ เขื่อนนเรศวร   ๒ พลายชุมพล ดงเศรษฐี และท่าบัว ๓ ชลประทานนครสวรรค์ ๔ ชลประทานกำแพงเพชร ๕ มโนรมย์ ช่องแค เริงราง และมหาราช ๖ โคกกระเทียม และคลองเพรียว-เสาไห้ ๗ นครหลวง ๘ บรมธาตุ ชัณสูตร และยางมณี ๙ ป่าสักใต้ (ที่ลุ่ม) ๑๐ ป่าสักใต้ (ที่ดอน) พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงที่แนะนำ สำหรับพื้นที่ที่มีระยะเวลาปลูกประมาณ ๑๐๐ วัน : กข๒๙ กข๔๓ และสุพรรณบุรี ๒ พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสงที่แนะนำ สำหรับพื้นที่ที่มีระยะเวลาปลูก ๑๒๐ วัน : กข๓๑ กข๓๗ กข๔๑ กข๔๗ สุพรรณบุรี ๑ สุพรรณบุรี ๙๐ ชัยนาท ๑ และปทุมธานี ๑ พืชหลังนา(ถั่วเขียว,ข้าวโพดฝักอ่อน,ข้าวโพดหวาน)/ พืชปุ๋ยสด/เว้นปลูก เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๑ เก็บ เกี่ยว นาครั้งที่ ๒ เก็บเกี่ยว พืชหลังนา(ถั่วเขียว,ข้าวโพดฝักอ่อน)/ เว้นปลูก/พืชหลังนา(ถั่วเขียว,ข้าวโพดฝักอ่อน,ข้าวโพดหวาน)/พืชปุ๋ยสด เว้นปลูก เตรียมแปลง เก็บเกี่ยว เตรียม แปลง เก็บเกี่ยว เตรียม แปลง เตรียม แปลง เตรียม แปลง เก็บ เกี่ยว เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๑ เก็บเกี่ยว เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๒ เก็บ เกี่ยว เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๑ เก็บเกี่ยว เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๒ เก็บ เกี่ยว เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๑ เก็บเกี่ยว เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๒ เก็บ เกี่ยว เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๑ เก็บเกี่ยว เตรียม แปลง นาครั้งที่ ๒ เก็บ เกี่ยว เตรียม แปลง เตรียม แปลง

เปรียบเทียบต้นทุนการผลิตข้าวนาปรังตามระบบ การปลูกข้าวเดิมและระบบการปลูกข้าวใหม่ รายการ ปี 2552 ปี 2553 ระบบการปลูกข้าวเดิม ระบบการปลูกข้าวใหม่ ต้นทุนรวมต่อไร่ (บาท) 4,591 4,664 4,537 4,446 ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 679 815 595 ต้นทุนรวมต่อตัน (บาท) 6,760 5,723 7,625 5,455 ต้นทุนลดลงต่อตัน (บาท) 1,037 (6,760-5,723) 2,170 (7,625-5,455) หมายเหตุ : 1. การลดปลูกข้าวนาปรัง ทำให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น 20% เป็น 815 กก./ไร่ เนื่องจากใช้ เมล็ดพันธุ์ดีและมีการใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม

เปรียบเทียบกับระบบการปลูกข้าวเดิม รายได้และผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ในระบบใหม่เมื่อ เปรียบเทียบกับระบบการปลูกข้าวเดิม ระบบปลูก ต้นทุน (บาทไร่) รายได้ (บาทไร่) ผลตอบแทน ๑. แบบเดิม ข้าวนาปี – ข้าวนาปรัง(ครั้งที่ ๒) – ข้าวนาปรัง(ครั้งที่ ๓) 12,656 13,943 1,288 ๒. แบบใหม่ ข้าวนาปี - ข้าวนาปรัง – พืชหลังนาหรือ ข้าวนาปี - ข้าวนาปรัง - พืชหลังนา ๑. ข้าวนาปี-ถั่วเขียว-ข้าวนาปรัง 9,981 14,371 4,390 ๒. ข้าวนาปี-ข้าวโพดฝักอ่อน-ข้าวนาปรัง 10,972 14,884 3,912 ๓. ข้าวนาปี-ข้าวโพดหวาน-ข้าวนาปรัง 13,103 14,814 1,711 ๔. ข้าวนาปี-ถั่วเหลืองอายุสั้น-ข้าวนาปรัง 10,999 13,695 2,696 ๕. ข้าวนาปี-ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์-ข้าวนาปรัง 11,617 14,873 3,255 ๖. ข้าวนาปี-ถั่วลิสง-ข้าวนาปรัง 12,217 15,598 3,381 หมายเหตุ :ใช้ข้อมูลปี ๒๕๕๓

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ) ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน รวม ๗ คณะ ๒. ประชาสัมพันธ์โครงการ ๓. จัดเวทีชุมชน ๔. เกษตรกรตัดสินใจเลือกระบบการปลูกข้าวใหม่ ๕. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงแนวทางการ ดำเนินงาน ๖. จัดทำคู่มือโครงการ

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ) ๗. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการ เทคโนโลยี การผลิตข้าว พืชหลังนา และพืชปุ๋ยสด ๘. จัดหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชหลังนาและ พืชปุ๋ยสด ๙. จัดงานรณรงค์ เพื่อกระตุ้นให้เกษตรกรเกิดการ เรียนรู้ เห็นแนวทางในการปฏิบัติ ๑๐.ช่วยเหลือในการจัดหาตลาดเพื่อรองรับผลผลิต พืชหลังนาที่เกิดจากการจัดระบบการปลูกข้าว

ตัวชี้วัดความสำเร็จของทั้งโครงการ ๑.๑ จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอด ความรู้เทคโนโลยีการผลิตข้าว พืช หลังนา พืชปุ๋ยสด ๑.๒ มีการปลูกข้าวไม่เกินปีละ 2 ครั้ง ๑.๓ มีการบริหารจัดการการใช้น้ำตาม ปริมาณน้ำต้นทุนที่มีอยู่

ตัวชี้วัดความสำเร็จ (ต่อ) ๒. ตัวชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรมโครงการ ที่กรมการข้าวดำเนินการ ๒.๑ จำนวนเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องได้รับ ความรู้แนวทางการดำเนินงาน โครงการตามเป้าหมาย ๒.๒ จำนวนเกษตรกรที่ได้รับความรู้แนว ทางการปฏิบัติในการจัดระบบการ ปลูกข้าว (ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ และ การจัดงานรณรงค์) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย

ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของโครงการ การดำเนินงานที่ต้องเน้นเป็นพิเศษ ๑. ผู้บริหารระดับกรม/คณะกรรมการต้องให้ความสำคัญในการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ และสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมบูรณาการตามโครงการ มีการมอบหมาย/สั่งการผู้รับผิดชอบดำเนินการที่ชัดเจน ๒. เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องมีการบูรณาการในการดำเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานอื่นอย่างแท้จริง มีการประสานการดำเนินการ/จัดทำแผนปฏิบัติงานร่วมกันเพื่อให้สามารถปฏิบัติได้จริง ๓. มีการจัดประชุมในระดับส่วนกลาง/พื้นที่/จัดเวทีชุมชนเพื่อให้เจ้าหน้าที่และเกษตรกรมีความเข้าใจโครงการ หน่วยงานที่ร่วมดำเนินการให้ความสำคัญในการเข้าร่วมประชุมและร่วมเวทีชุมชน

ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของโครงการ (ต่อ) การดำเนินงานที่ต้องเน้นเป็นพิเศษ ๔. เกษตรกรละเว้นการปลูกข้าวแบบต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการบริหารระบบการปลูกข้าว และการจัดการน้ำร่วมกับภาคราชการ และองค์กรส่วนท้องถิ่น ๕. การติดตามประเมินผลโครงการ มีระบบการติดตามและประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง ๖. สนับสนุนการดำเนินงานโครงการที่ต่อเนื่อง บรรจุให้การจัดระบบการปลูกข้าวเป็นนโยบายสำคัญของกระทรวงฯ อย่างต่อเนื่อง

ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. เกษตรกร ต้นทุนการผลิตลดลงจากการ ใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม และ ผลตอบแทนจากการปลูกข้าวมากขึ้น เพราะไม่ทำการปลูกข้าวอย่างต่อเนื่อง ไม่เสี่ยงจากการขาดแคลนน้ำ การปะปน ของข้าววัชพืช และการระบาดของศัตรู ข้าว เป็นผลให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๒๐

ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (ต่อ) ๒. ประเทศชาติ มีการบริหารจัดการน้ำอย่าง มีประสิทธิภาพ ลดภาระงบประมาณของ รัฐบาลในส่วนค่าใช้จ่าย หรือการจัดการ น้ำ และค่าใช้จ่ายช่วยเหลือเกษตรกรจาก การเกิดภัยพิบัติ ระบบนิเวศน์ในพื้นที่นา เขตชลประทานดีขึ้น เพิ่มปริมาณผลผลิต พืชไร่บางชนิดและทดแทนการนำเข้า และลดการนำเข้าสารเคมีและปุ๋ยเคมีจาก ต่างประเทศ

สวัสดี