การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
Phylum Nematoda สมมาตรแบบ Bilateral symmetry
Group Acraniata (Protochordata)
Cryptoleamus montrouzieri
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
โดย นางสาว วันวิสาข์ ลิจ้วน M นางสาว ปาริชาต กรวยนอก M
การเพาะพันธุ์ปลาแฟนซีคาร์ฟ
การเลี้ยงปลาบึก ABC DEFG รหัส 47xxxxxx คณะเกษตรศาสตร์ สาขาประมง.
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
หนอนพยาธิ (Helminth).
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
สัมมนาทางชีวิทยา เสนอ อ. ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น. ส
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
วิวัฒนาการของพะยูน.
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
มวนเพชรฆาต (Kissing bug, Assassin bug)
สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
❤ กว่าจะมาเป็นไข่ปลาคาเวียร์❤
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การจำแนกวงศ์ ในอันดับโอโดนาต้าและออร์ทอพเทอร่า
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
การออกแบบการเรียนรู้
ด้วงกว่าง.
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
ประเภทของมดน่ารู้.
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
ดอกไม้ฤดูหนาว.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
ด. ญ. ขนิษฐา ตราทิพย์ ด. ญ. ขนิษฐา ตราทิพย์ ด. ญ. สุพัตรา กลิ่นกลัด ด. ญ. สุพัตรา กลิ่นกลัด ด. ญ. พจนีย์ แช่มช้อย ด. ญ. พจนีย์ แช่มช้อย.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ด.ญ.พรพิมล เทพปันไหว ม1/2 เลขที่5
ด.ญ.พชร แสงศักดิ์ ม.1/2 เลขที่.4
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
Class Monoplacophora.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
Class Polyplacophora.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
การจำแนกลักษณะเต่านามลายู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม นางสาวABC DEFG 47xxxxxx คณะเกษตรศาสตร์ สาขาประมง

ชีววิทยาของกุ้งก้ามกราม ชื่อเรียกทั่วไปในท้องถิ่นต่างๆ กุ้งก้ามกราม , กุ้งนาง , กุ้งหลวง , กุ้งก้ามเกลี้ยง , กุ้งแห , กุ้งใหญ่ ชื่อสามัญ Giant Fershwater Prawn ชื่อวิทยาศาสตร์ Macrobrachuim rosenbergii de man

อนุกรมวิธาน Phylum Arthpoda   Class Crustacea     Order Decapoda       Suborder Natantia         Family Palaemonidae           Genus Macrobrachium             Species rosenbergii

ลักษณะทั่วไปของกุ้งก้ามกราม กุ้งก้ามกรามมีลำตัวเป็นปล้อง ส่วนหัวและอกจะคลุมด้วยเปลือกชิ้นเดียวกัน ส่วนของลำตัวเปลือกจะแยกเป็นปล้อง ๆ มีหนวด 2 คู่ ขาเดิน 5 คู่ และขาว่ายน้ำ 5 คู่ ปลายหางจะมีลักษณะเป็นปลายแหลมธรรมดา ขาเดินคู่ที่ 2 นั้นจะเป็นก้ามที่มีขนาดยาวมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกุ้งตัวผู้

ความแตกต่างระหว่างกุ้งเพศผู้และเพศเมีย ถ้ากุ้งมีขนาดเล็กจะต้องดูที่ขาว่ายน้ำคู่ที่ 2 ถ้าเพศเมียตรงปลายขาว่ายน้ำคู่ที่ 2 ตรงปล้องสุดท้ายแยกออกเป็นแขนง 3 อัน โดยอันเล็กสุดอยู่ด้านใน ถ้าเพศผู้แยกเป็นแขนง 4 อัน เมื่อโตเต็มวัยตัวผู้จะใหญ่กว่าตัวเมียและตัวผู้ก้ามใหญ่กว่า แต่เปลือกหุ้มตัวส่วนท้องของตัวผู้จะแคบกว่าตัวเมีย ช่องเปิดสำหรับน้ำเชื้อตัวผู้จะอยู่บริเวณขาเดินคู่ที่ 5 ตัวเมียช่องเปิดสำหรับไข่อยู่ที่โคนขาคู่ที่ 3        เพศผู้ เพศเมีย

กุ้งตัวเมีย แสดงลักษณะเพศเมีย ( บริเวณในวงกลม)