ขั้นตอนการแปลงไฟล์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Thai-Tiny ERP นางสาว รัตติกาล สุวรรณธาดา
Introduction to C Programming
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
Building native COBOL applications คอมไพเลอร์ตรวจหา syntax errors แล้วสร้าง native machine code จากนั้น linker ทำหน้าที่ link native machine code ให้เป็น.
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 29.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Introduction to C Programming.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Homework ให้เขียนโปรแกรม Text Editor อย่างง่ายที่ชื่อว่า "Simple Notepad" ที่มีการทํางานคล้ายคลึงกับโปรแกรม Notepad แต่มีความสามารถจํากัด ผู้ใช้สามารถใช้เมนูคําสั่งเพื่อทําการ.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
SCC : Suthida Chaichomchuen
Addressing Modes Assembly Programming.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 7.
CS Assembly Language Programming
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ดีบักเป็นเครื่องมืออันหนึ่งที่ให้ผู้ใช้ ตรวจสอบ และแก้ไขค่าใน หน่วยความจำ โหลด เก็บ ตรวจสอบค่าในเรจิสเตอร์ และสามารถ เขียนโปรแกรมแอสเซมบลีได้อย่าง สะดวก.
บทที่ 17 คำสั่งตารางและการสร้างแมคโคร
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี้ (2)
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
เซกเมนต์ (Segment) โครงสร้างคอมพิวเตอร์ และภาษาแอสเซมบลี้
อินเทอร์รัพท์ (Interrupt)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
Introduction to C Language
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
HTML, PHP.
Linked List (ลิงค์ลิสต์)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
ที่เมนู Start - All Programs - TURBO C++ V4.5 และ TURBO C++
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
PHP: [6] ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการแปลงไฟล์

การเขียนโปรแกรมภาษา Assembly Object File : จะเป็นไฟล์ที่มี นามสกุล .OBJ ซึ่งจะประกอบด้วยภาษาเครื่องที่ ใช้สำหรับแปลงเป็น .EXE (Executable File) โดยโปรแกรม Link List File : เป็นไฟล์ที่มีนามสกุล .LST จะบรรจุภาษาเครื่อง และโปรแกรม อธิบายข้อผิดพลาด ที่เกิดขึ้น(error)เพื่อให้เราสามารถ แก้ไข้ผิดพลาดได้ง่าย Cross-Reference File : เป็นไฟล์ที่ นามสกุล .CRF จะรวบรวมชื่อต่างๆที่ใช้ โปรแกรมทั้งหมด LINK จะทำการแปลง ไฟล์รหัสภาษาเครื่อง (Object File) เป็น Executable File จากนั้นจะได้ ไฟล์ใหม่ 2 ไฟล์ - Run File : เป็นไฟล์ที่มีนามสกุล .EXE ซึ่งสามารถโหลดลงหน่วยความจำ

การ complie ในภาษา Assembly ในที่นี้ใน Turbo Assembly ในการทำงานจะ ต้องมีการพิมพ์ โปรแกรม ด้วย ตัวช่วยพิมพ์ (Editor) บันทึกให้เป็น นามสกุล . ASM ก่อน ตัวอย่าง Editor ที่ ทำการใช้งาน เช่น Qedit , EditPlus ,NotePad, MsWord หรืออื่นๆ TASM ชื่อแฟ้ม ที่เขียนด้วย Editor.ASM

การ complie ในภาษา Assembly ความหมาย บอกชื่อแฟ้มที่ได้ทำการ complie Error message : None หมายถึงไม่มีข้อผิดพลาด หากมีจะบอกหมายเลขบรรทัดที่ผิด Warnning message : None หมายถึงไม่มีการเตือน Remaining Memory : ขนาดของไฟล์ที่ผ่านการคอมไพล์ จากนั้น จะได้ Object filename คือ .Obj หากมีข้อผิดพลาดให้ทำการแก้ไขก่อน จากนั้น ทำการ Link โปรแกรม ( .Obj) โดยใช้ Tlink รูปแบบ Tlink ชื่อแฟ้ม ซึ่งแฟ้ม .Obj จากจะได้แฟ้ม .EXE สามารถ เรียกใช้งานได้

การ complie ในภาษา Assembly หากต้องการ Compile เพื่อดูรหัสคำสั่งเลขฐาน 16 ต้องทำการ Compile ด้วยรูปแบบ ดังนี้ TASM ชื่อแฟ้ม ที่เขียนด้วย Editor.ASM -L จะได้ แฟ้ม Listing File คือ .LST ซึ่งสามารถดู รหัสคำสั่งเลขฐาน 16 ได้ เช่น

Interrupt Function ต่างๆ ฟังก์ชั่นที่ 1: ฟังก์ชั่นที่ 2: Single-key Input Input AH = 01h Output AL = รหัสแอสกี ถ้ามีการกดคีย์ตัวอักษร = 0 ถ้าไม่มีการกดคีย์ตัวอักษร ฟังก์ชั่นที่ 2: Display a Character Input AH = 02h DL = รหัสแอสกีของตัวอักขระที่จะแสดงผล Output AL =รหัสแอสกีของตัวอักขระที่แสดงผล

Interrupt (ต่อ) Function ต่างๆ ตัวอย่าง Mov AH,1 INT 21h ------------------------------------------------------- Mov AH,2 Mov DL,’?’

Interrupt (ต่อ) Function ต่างๆ ฟังก์ชั่นที่ 8: Single-key Input Input AH = 08h Output AL = รหัสแอสกี ถ้ามีการกดคีย์ตัวอักษร = 0 ถ้าไม่มีการกดคีย์ตัวอักษร

Interrupt (ต่อ) Function ต่างๆ ฟังก์ชั่นที่ 9: Display String Input DX = ตำแหน่งแอเดรสของสตริง โดยจุดสิ้นสุดของสตริงจะมีตัวอักขระ $ เช่น คำสั่ง LEA (Load Effective Address) LEA DX,MSG ; MSG คือ เป็นตัวแปรที่กำหนดค่าของ สตริงเอาไว้ เช่น ; MSG DB ‘COMPUTER$’ คือ เก็บข้อความว่า COMPUTER เมื่อโปรแกรมต้องการอ่านค่าจากหน่วยความจำ เราจะต้องมีการกำหนด เซกเมนต์ของหน่วยความจำที่ข้อมูลอยู่ให้กับรีจีสเตอร์ DS สามารถเขียนคำสั่งได้ดังนี้ รูปแบบของคำสั่ง LEA destination ,source

Interrupt (ต่อ) MOV AX,@DATA ; @DATA เป็นการบอกชื่อเซกเมนต์ของข้อมูลที่กำหนดโดย .DATA MOV DS,AX ;หมายเหต เราต้องใช้ 2 คำสั่ง เพราะเนื่องจากว่เราไม่สามารถกำหนด ค่าให้กับ รีจีสเตอร์ DS ได้โดยตรง ต้องมีการใช้รีจีสเตอร์ AX เข้ามาช่วย

Interrupt (ต่อ)

Interrupt (ต่อ)

Interrupt (ต่อ)

Interrupt (ต่อ)

Interrupt (ต่อ)