Chapter 5 Forecasting in Logistics Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
Advertisements

การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
ความหมายของการวางแผน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
ระบบการบริหารการตลาด
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
Location Problem.
(Sensitivity Analysis)
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
Chapter4 Logistic & Supply chain Management
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
การใช้งานโปรแกรม EViews เบื้องต้น
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การเงิน.
Forecasting II Continue อาจารย์กวินธร สัยเจริญ.
การจัดการสินค้าคงคลัง
Basic Knowledge By Kawinthorn Saicharoen
การวางแผน และควบคุมการตผลิต
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ผู้จัดการฝ่ายขายมืออาชีพ (Professional Sales Manager)
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การบริหารจัดการอัตรากำลัง
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
พยากรณ์การเกิดโรคมาลาเรีย ปี 2555 โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 15 และ 16.
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
บทที่ 3 Planning.
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
กำหนดการเชิงเส้น PLERN SAIPARA RMUTL.
วันนี้จัดที่นั่งใหม่เรียงดังนี้ แถวที่ 1 ลำดับที่ 61-72,73 แถวที่ 1 ลำดับที่ 61-72,73 แถวที่ 2 ลำดับที่ 49-60,74 แถวที่ 2 ลำดับที่ 49-60,74 แถวที่ 3 ลำดับที่
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
บทที่ 4 การวางแผนการตลาดและแผนการขาย
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
Presentation Template
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
การวางแผนการผลิต และการบริการ
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Planning)
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ทฤษฎีการผลิต.
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การเรียนรู้ความต้องการ ของลูกค้า
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
บริษัท แอมเวย์ประเทศไทย
Thanapon Thiradathanapattaradecha
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิเคราะห์อนุกรมเวลา และการพยากรณ์
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 5 Forecasting in Logistics Management Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya Naresuan University Payao Campus Semester 1/50

ความหมายและความสำคัญของการพยากรณ์ การพยากรณ์ คือ การคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคต การพยากรณ์ทางธุรกิจโลจิสติกส์ เช่น ยอดขาย ปริมาณการผลิต หรือสถานการณ์อุตสาหกรรมโดยทั่วไป โดยอาศัยการประมวลจากข้อมูลในอดีต ประสบการณ์ เหตุปัจจัยอื่นๆ ที่คาดคะเนขึ้น ความสำคัญ การพยากรณ์ทำให้สามารถผลิต ตระเตรียมสินค้าหรือวัตถุดิบได้เพียงพอหรือสอดคล้องกับความต้องการในอนาคตเพื่อการวางแผนในโซ่อุปทานต่อไปได้อย่างแม่นยำ ทำให้สามารถจัดสรรทรัพยากรการผลิต (Inputs) ได้แก่ กำลังคน วัตถุดิบและการเงิน ได้อย่างเหมาะสม

ประโยชน์ของการพยากรณ์ ค่าที่ได้จากการพยากรณ์สามารถนำไปใช้ในการวางแผนในหลายๆ ฝ่ายของบริษัทได้แก่ ฝ่ายการเงิน (Money) : เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำงบประมาณการขาย ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดทำงบการเงินเพื่อการจัดสรรทรัพยากรใกทุกส่วนขององค์การอย่างทั่วถึง ฝ่ายการตลาด (Man) : เพื่อใช้กำหนดโควต้าให้แก่พนักงานขายและถูกนำไปใช้สร้างเป้าหมายในการขายหรือการตลาด ฝ่ายการผลิต (Machine & Material) : พิจารณา การบริหารสินค้าคงคลังและจัดการคำสั่งซื้อให้สอดคล้อง การบริหารกำลังคนในฝ่ายผลิตให้สอดคล้องกับค่าพยากรณ์ กำหนดกำลังการผลิต ด้วยการปรับระดับการผลิตของเครื่องจักรให้เหมาะสม และจัดสรรวัตถุดิบให้สอดคล้องกับกับกำลังการผลิต เพื่อเลือกทำเลที่ตั้งการผลิตหรือศูนย์กระจายสินค้าให้สอดคล้องกับค่าการผลิตที่พยากรณ์ไว้ วางแผนผังกระบวนการผลิต ตารางการผลิตและกำหนดเวลาที่ต้องผลิตให้สอดคล้องกับค่าพยากรณ์

ประเภทของการพยากรณ์ พิจารณาตามระยะเวลาดำเนินการผลิต การพยากรณ์ระยะสั้น (Short time range Forecast) ไม่เกิน 3 เดือน เหมาะกับสินค้ารายชนิด ใช้เพื่อการวางแผนจัดซื้อ จัดตารางการผลิต จัดการสต็อค มอบหมายงาน การพยากรณ์ระยะปานกลาง (Mid-range Forecast) 3 เดือน – 2 ปี เหมาะกับการพยากรณ์สินค้าทั้งกลุ่ม วางแผนการขาย แผนกระจายสินค้า แผนการผลิตครึ่งปี – ทั้งปี และการจัดวางงบประมาณ การพยากรณ์ระยะยาว (Long-range Forecast) 2 ปีขึ้นไป มักใช้สำหรับการพยากรณ์รวมทั้งบริษัท เช่น การออกสินค้าใหม่ การวางแผนกลยุทธ์การผลิต หรือวางแผนธุรกิจใหม่

Forecasting Technique Qualitative Forecasting (Judgment Method) ไม่ได้ใช้ตัวเลขในการพยากรณ์มากนัก เหมาะกับการพยากรณ์ระยะยาว ที่ต้องคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต มีที่สำคัญ 4 วิธี คือ Delphi Technique Marketing Research Jury of Executive Opinion Sales force Composite Quantitative Forecasting เป็นการใช้ตัวเลขเชิงปริมาณในอดีตมาทำการพยากรณ์ความต้องการในอนาคต โดยมีข้อมูลจำนวนมากเพียงพอที่จะใช้วิเคราะห์ทางสถิติ และเหมาะกับการพยากรณ์ระยะสั้น หรือระยะกลาง

Quantitative Forecasting Moving Average Simple Moving Average Weighted Moving Average Exponential Smoothing Trend Projection (Causal Method)

Moving Average Simple Moving Average คือการหาค่าเฉลี่ยของยอดผลิตในอดีตติดต่อกัน ตามจำนวนคาบเวลาที่ผู้พยากรณ์ต้องการแล้วหารด้วยจำนวนคาบเวลา ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ค่าพยากรณ์ของคาบเวลาถัดไป ดังสมการ เมื่อ Y = ค่าเฉลี่ยที่เป็นค่าพยากรณ์ y = จำนวนยอดขาย t – i = ลำดับคาบเวลาที่ i ใดๆ ∑ = ผลรวม N = จำนวนคาบเวลาที่ต้องการเคลื่อนที่

(Jan+Feb+Mar)/3 ;(15+16+15)/3= Simple Moving Average Month Sales 3 Period of Moving Forecast Jan 15 Feb 16 Mar April 14 (Jan+Feb+Mar)/3 ;(15+16+15)/3= 15.333 May June 17 July Aug Sept 20

Moving Average Weighted Moving Average คือการหาค่าเฉลี่ยของยอดผลิตในอดีตติดต่อกัน โดยมีการให้ค่าน้ำหนักตามความสำคัญแก่ยอดขายที่ใกล้ปัจจุบันที่สุดแล้วลดหลั่นไปตามอดีต โดยการถ่วงน้ำหนักของยอดขายในคาบเวลาแล้วหารด้วยผลรวมของตัวเลขที่นำมาถ่วงน้ำหนัก ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ค่าพยากรณ์ของคาบเวลาถัดไป ดังสมการ เมื่อ Y = ค่าเฉลี่ยที่เป็นค่าพยากรณ์ y = จำนวนยอดขาย t – i = ลำดับคาบเวลาที่ i ใดๆ ∑ = ผลรวม N = จำนวนคาบเวลาที่ต้องการเคลื่อนที่ W = ค่าถ่วงน้ำหนัก

Weighted Moving Average Month Sales 3 Period of Moving Forecast Jan 15 Feb 16 Mar April 14 (Janx1+Febx2+Marx3)/3+2+1 ;(15x1+16x2+15x3)/6= 15.333 May (Febx1+Marx2+Aprx3)/3+2+1 ;(16x1+15x2+14x3)/6 14.667 June 17 July Aug Sept 20

Exponential Smoothing คือการพยากรณ์ที่ให้ความสำคัญกับข้อมูลเก่าทุกค่า โดยให้ความสำคัญแก่ค่าที่ใกล้ปัจจุบันมากที่สุดลดหลั่นลงไปตั้งแต่ค่าที่ 1 จนถึงค่าล่าสุด และถ่วงน้ำหนักข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ์การปรับเรียบ() ดังสมการดังนี้ เมื่อ Y = ค่าพยากรณ์ y = จำนวนยอดขายจริงที่เกิดขึ้น t – i = ลำดับคาบเวลาที่ i ใดๆ  = ค่าคงที่ของการปรับเรียบ มีค่าตั้งแต่ 0.00 – 1.00 โดยมากใช้ 0.1 – 0.3

Exponential Smoothing Month Sales ตัวอย่างการคำนวณ Smoothing Forecasting  = 0.3  = 0.2  = 0.1 Jan 15 ค่าพยากรณ์ตัวแรก = ค่าจริงที่เกิดขึ้น 15.0 Feb 16 15+0.3(15-15) Mar 15+0.3(16-15) 15.3 15.2 15.1 April 14 15.3+0.3(15-15.3) May 15.2+0.3(14-15.2) 14.8 14.9 June 17 July 15.7 15.5 Aug 15.4

Trend Analysis (Causal Method) ยอดขาย วิธีการที่ใช้เมื่อข้อมูลมีความสัมพันธ์กับตัวแปรหนึ่งกับยอดขาย โดยที่ตัวแปรนั้นอาจเป็นสาเหตุจากปัจจัยภายในองค์การ หรือนอกองค์การก็ได้ ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวจะเป็นสมการเส้นตรง (Linear Regression) โดยมีตัวแปรหนึ่งเป็นตัวแปรตาม (Dependent Variable) กับอีกตัวแปรหนึ่งเป็นตัวแปรอิสระ (Independent Variable) Y=a + bX ค่าโฆษณา

Trend Analysis (Causal Method) เทคนิคทางสถิติแบบสหสัมพันธ์ถดถอย (Regression Analysis) จะปรับข้อมูลที่ไม่เป็นเส้นตรงหรือมีความสะเปะสะปะให้เป็นเส้นตรงด้วยสมการดังต่อไปนี้ เมื่อ Y = ค่าพยากรณ์ y = จำนวนยอดขายจริงที่เกิดขึ้น t = อันดับที่ของเวลา n = จำนวนชุดข้อมูล a = ค่าคงที่ของ Y ที่ t = 0 b = slope ของเส้นตรง

Trend Analysis (∑t)2 = 441 N = 6 t t.y t2 Y = 14.6 + 0.257t Month Sales Y t t.y t2 Jan 15 1 Feb 16 2 32 4 Mar 3 45 9 April 14 56 May 5 80 25 June 17 6 102 36 ∑ 93 21 330 91 (∑t)2 = 441 N = 6 Y = 14.6 + 0.257t