HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ ห้องประชุมจิตติ ติงศภัทย์ คณะนิติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Advertisements

สมาชิก 1.น.ส.เจตนิพิฐ พงศ์พฤกษธาตุ เลขที่ 15 2.น.ส.ชนิตา ปรีชากิตติไพศาล เลขที่ 16 3.น.ส.ปฏิมาล์ ศิริพิรุณ.
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ระบบเศรษฐกิจ.
สิทธิเด็ก เดินหน้า.
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
สิทธิมนุษยชน กับ ความหลากหลายทางเพศ
การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
สังคมศึกษา.
การค้ามนุษย์ นายอนุภาพ ปวงสายใจ คพ50.ค
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์ ความหมายของการค้ามนุษย์ สภาพปัญหาของการค้ามนุษย์
การค้ามนุษย์.
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
& ความสำคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
การพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กสู่ประชาคมอาเซียน
การค้ามนุษย์.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติว่า ด้วยการกำหนดบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลเป้าหมายเป็นผู้รับบริการ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
โดย พลตรี กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ ผู้ช่วยเจ้ากรมพระธรรมนูญ
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
ที่มา และแนวคิดสิทธิมนุษยชนใน อารยธรรมไทย รับผิดชอบโดย อ. ทศพลทรรศนกุลพันธ์
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
บทที่ 1 บุคคล.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
บทเรียนจาก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
สิทธิมนุษยชน กับ ความหลากหลายทางเพศ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
1. ไม่ควรให้ข้อมูลที่เป็นเท็จ 2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของข้อมูล ให้ผู้รับคนต่อไป ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 3. ไม่ควรเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก

พัฒนาการของสิทธิมนุษยชน สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้นำความหายนะมาสู่ชีวิตและทรัพย์สินของหลายประเทศทั่วโลก ชาวโลกได้ประจักษ์ถึงความรุนแรง โหดร้าย มีการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ และการกระทำย่ำยีศักดิ์ศรีของมนุษย์อย่างชัดเจน ดังนั้น ประเทศต่าง ๆ จึงแสวงหามาตรการ ที่เป็นมาตรการป้องกันมิให้มีการทำลายศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เกิดขึ้น จึงก่อตั้งองค์กรสหประชาชาติ โดยมีการรับรองกฎบัตรสหประชาชาติ โดยกฎบัตรมีหลายตอนที่เสดงถึงความมุ่งมั่นของสหประชาชาติ ในการ ทำหน้าที่ส่งเสริม และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชนคืออะไร สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิขั้นพื้นฐานที่ทำให้มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความเท่าเทียมกันในแง่ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และสิทธิเพื่อดำรงชีวิตอย่าง มีศักดิ์ศรี โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างในเรื่องของ เชื้อชาติ สีผิว เพศ อายุ ภาษา ศาสนา และสถานภาพทางกายและสุขภาพ รวมทั้งความเชื่อทางการเมือง หรือความเชื่ออื่นๆ ที่ขึ้นกับพื้นฐานทางสังคม สิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งที่ไม่สามารถถ่ายทอดหรือโอนให้แก่ผู้อื่นได้

ขอบเขตสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนแบ่งเป็น 5 ประเภท ได้แก่ สิทธิมนุษยชนแบ่งเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1. สิทธิพลเมือง คือ สิทธิในชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ และความมั่นคงในชีวิต สิทธิในกระบวนการยุติธรรม สิทธิที่จะได้รับการปกป้องจากการจับกุม หรือคุมขังโดยมิชอบ สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีในศาลอย่างยุติธรรม สิทธิในการได้รับสัญชาติ ความเชื่อต่างๆ

2. สิทธิทางการเมือง ได้แก่ สิทธิในการเลือกแนวทางของตนในการแสดงออกทางการเมือง ความคิดเห็น การมีส่วนร่วมกับรัฐในการดำเนินกิจการที่เป็นประโยชน์สาธารณะเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ เสรีภาพในการรวมกลุ่ม สิทธิในการเลือกตั้งอย่างเสรี

3. สิทธิทางเศรษฐกิจ ได้แก่ สิทธิในการเลือกทำงานอย่างอิสระ และได้รับค่าจ้างอย่างเป็นธรรม สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน การได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ

4. สิทธิทางสังคม ได้แก่ สิทธิในการได้รับการศึกษา ได้รับหลักประกันสุขภาพ ได้รับความมั่นคงทางสังคม มีเสรีภาพในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว

5. สิทธิทางวัฒนธรรม ได้แก่ การมีเสรีภาพในการใช้ภาษาหรือสื่อความหมายในภาษาท้องถิ่น มีเสรีภาพในการแต่งกาย ตามวัฒนธรรม การปฏิบัติกิจตามวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของตน

สรุป สิทธิมนุษยชน คือ สิ่งจำเป็นสำหรับทุกคนที่ต้องได้รับในฐานะ ที่เป็นคน เพื่อให้คนๆ นั้น มีชีวิตอยู่รอดได้

สิทธิมนุษยชนมี 2 ระดับ ระดับ 1 สิทธิมนุษยชนมี 2 ระดับ ระดับ 1 เป็นสิทธิที่ติดตัวทุกคนมาตั้งแต่เกิดไม่สามารถโอนต่อกันได้ ได้แก่ สิทธิในชีวิตและร่างกาย ห้ามฆ่า หรือทำร้ายชีวิต ห้ามทรมารอย่างโหดร้าย มีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เหล่านี้ แม้ไม่มีกฎหมายบัญญัติรองรับแต่ทุกคนมีสำนึกรู้ได้ว่าเป็นเรื่องผิด เป็นบาปในทางศาสนา

ระดับ 2 เป็นสิทธิที่ต้องได้รับการรับรองในเรื่องของกฎหมายรัฐธรรมนูญ หรือต้องได้รับการคุ้มครอง โดยแนวนโยบายพื้นฐานของรัฐ เพื่อเป็นหลักประกันว่าคนทุกคนที่อยู่ในรัฐนั้นจะได้รับความคุ้มครองชีวิตและความเป็นอยู่ให้มีความเหมาะสมแก่ความเป็นมนุษย์ ได้แก่ สิทธิในการได้รับสัญชาติ การมีงานทำ การได้รับการคุ้มครองแรงงาน สิทธิเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ สตรี การได้รับการศึกษา การได้รับการบริการด้านสาธารณะสุข เป็นต้น

หลักการของสิทธิมนุษยชน 5 ด้าน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หลักการของสิทธิมนุษยชน 5 ด้าน ด้านที่ 1 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เป็นสิทธิที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด หมายถึง คุณค่าของตนในฐานะที่เขาเป็นมนุษย์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.คุณค่าในฐานะการดำรงตำแหน่งทางสังคม 2.คุณค่าของมนุษย์ในฐานะที่เป็นมนุษย์ ไม่แบ่งแยก เท่าเทียมกัน

สิทธิมนุษยชนเป็นสากลไม่สามารถโอนถ่ายกันได้ ด้านที่ 2 สิทธิมนุษยชนเป็นสากลไม่สามารถโอนถ่ายกันได้ หมายความว่า สิทธิมนุษยชนไม่มีพรหมแดนไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนในโลก ไม่ว่าจะมีเชื้อชาติ สัญชาติ แหล่งกำเนิดใดก็ตาม ไม่ว่ายากจน หรือรวย สิทธินี้ไม่สามารถโอนหรือมอบอำนาจให้แก่กันได้ ไม่มีการครอบครองสิทธิแทนกัน แต่ได้จัดหมวดหมู่และกลุ่มเป็นสิทธิกลุ่มเฉพาะ เช่น สิทธิสตรี สิทธิเด็ก

แบ่งแยกไม่ได้ หรือไม่มีลำดับชั้น ด้านที่ 3 แบ่งแยกไม่ได้ หรือไม่มีลำดับชั้น สิ่งใดที่บัญญัติให้เป็นสิทธิและเสรีภาพตามกฎหมาย บุคคลเข้าถึงสิทธินั้นโดยเสมอภาคกัน

ด้านที่ 4 ความเสมอภาค การปฏิบัติต่อบุคคลต้องคำนึงถึงความเสมอภาค กล่าวคือ หากบุคคลอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่เท่าเทียมกัน ด้วยเหตุจากความแตกต่าง อาทิ เผ่าพันธุ์ สีผิว เพศ ภาษา สัญชาติ เชื้อชาติ ชนชั้น เป็นต้น ก็ต้องมีการปฏิบัติต่อบุคคลให้เสมอภาคโดยเท่าเทียมกัน

ด้านที่ 5 ไม่เลือกปฏิบัติ ถึงแม้ว่าคนเราเกิดมาจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของฐานะ ความเป็นอยู่ การศึกษา เพศ ศาสนา หรือความบกพร่องของร่างกาย แต่ภายใต้ความคุ้มครองในบทบัญญัติทางกฎหมายเราต้องไม่อาศัยความแตกต่างเหล่านี้มาเป็นสาระสำคัญในการปฏิบัติหรือจำกัดสิทธิ หรือคัดกับบุคคลบางกลุ่ม

มาตรการและกลไกลการดำเนินงาน ด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ประเทศที่เป็นสมาชิกองค์กรสหประชาชาติ มีพันธผูกพันกับกฎบัตรแห่งสหประชาชาติ และที่สำคัญเรื่องสิทธิมนุษยชนได้ถูกนำไปใช้ในทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

หากเรายังคงปล่อยให้พฤติกรรมการละเมิดสิทธิเหล่านี้ยังคงอยู่ วันหนึ่งเราอาจไม่มีพื้นที่ให้ลูกหลานเรา ปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพแห่งความเป็นมนุษย์ ซึ่งติดตัวมาตั้งแต่เกิดได้อีกต่อไป สิทธิมนุษยชนคือเรื่องของมนุษย์ โดยยอมรับนับถือในศักดิ์ศรีอันติดตัวมา ในสิทธิอันเท่าเทียมกัน และไม่อาจเพิกถอนได้ ของบรรดาสมาชิกทั้งปวง ในครอบครัวมนุษย์เป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติสุขของโลก

The End HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน