โพรโตคอลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Protocol)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
Advertisements

Script Programming& Internet Programming
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
ขอต้อนรับ...สู่โลกอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต (Internet)
บทที่ 6 อินเตอร์เน็ต ความเป็นมา.
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
World Wide Web WWW.
(Hypertext Transport Protocol)
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ARP (Address Resolution Protocol)
:-> ติดตั้ง Dial-up Networking
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kulachatr Chatrkul Na Ayudhya Introduction to e-Commerce
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
Transport Layer.
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
Introduction TO Network Programming
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
OSI MODEL.
ทบทวนความเข้าใจ.
TCP/IP.
อินเทอร์เน็ต และการใช้งาน
อินเทอร์เน็ต (Internet)
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
IP Address / Internet Address
คอมพิวเตอร์ ร.ร.จักรคำคณาทร
อินเทอร์เน็ตInternet
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง โดเมนเนม โดเมนเนม.
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
Internet.
รายวิชา การออกแบบเว็บไซต์
Doma in สากล Domai n ใน ไทย ย่อมาจากความหมาย.com.co.thCommerce of Thailand องค์กรธุรกิจ ภาคเอกชนใน ประเทศไทย.gov.go.thGovernment of Thailand.
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
HTTP (Hyper Text Transfer Protocol )
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
อินเทอร์เน็ต.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และเครือข่าย
ระบบชื่อเว็บไซต์. URL(Universal Resource Locators or Uniform Resource Locators ) ที่อยู่ของแหล่งข่าวสารที่เป็นสากล รูปแบบมาตรฐานของ URL เป็นดังนี้ scheme://host:port/path.
ISP ในประเทศไทย
ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
Domain Name System   (DNS).
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต Internet Technology
4.1 ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
บทที่ 4 การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น Introduction to Internet
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
โดเมนเนมและการจดทะเบียน (Domain Name Register)
การพัฒนาเว็บไซต์ ในงานธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โพรโตคอลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Protocol)

โพรโตคอล (Protocol) - ข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ต่างๆในเครือข่าย - คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายจะติดต่อสื่อสารกันได้ ต้องใช้โพรโตคอลตัวเดียวกัน - เป็นได้ทั้ง H/W และ S/Wซึ่งจะสอดคล้องกับโมเดล OSI - อาจจะเป็นเพียงส่วนเดียวหรือประกอบขึ้นมาเป็นชุดก็ได้ - ที่สำคัญที่พบได้บ่อย มีดังต่อไปนี้

โพรโตคอล TCP/IP - โพรโตคอล TCP - โพรโตคอล IP - โพรโตคอล UDP - โพรโตคอล DHCP - โพรโตคอล DNS - WINS (Windows Internet Name Service)

Point-to-Point Protocol SLIP ( Serial Line Internet Protocol ) - ก่อนที่จะมี SLIP ใช้งานติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์สองระบบ ด้วย TCP/IP - การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ระยะไกลผ่านโมเด็ม และสาย โทรศัพท์จะใช้ Telnet - เป็นโปรแกรมติดต่อกับคอมพิวเตอร์ปลายทาง

การผนึกเฟรมข้อมูล TCP/IP ของ SLIP เพื่อรับส่งผ่านพอร์ตอนุกรม 5 Upper Layer Data Upper Layer Data TCP Header 4 3 TCP Segment IP Header 2 Slip End IP Data Gram 1 Packet Data Unit Hardware Header การผนึกเฟรมข้อมูล TCP/IP ของ SLIP เพื่อรับส่งผ่านพอร์ตอนุกรม

PPP ( Point to Point Protocol ) - มีฟังก์ชั่นที่แตกต่างจาก SLIP - มีความสามารถในการผนึก โพรโตคอลระดับสูงได้หลายชนิด เช่น DECNet , IPX และ AppleTalk นอกเหนือไปจาก TCP/IP - สามารถผนึกโพรโตคอลต่างๆ เหล่านี้ส่งไปยังคอมพิวเตอร์ ปลายทางพร้อมๆ กันในคราวเดียวกัน

Protocol Stack - การทำงานตามโปรแกรมประยุกต์หนึ่ง มักไม่ได้ใช้ทุกโพรโตคอลพร้อมกันทั้งหมด - หากแต่จะใช้เพียงโพรโตคอลที่สัมพันธ์กันไปในแต่ละระดับชั้นของแบบอ้างอิง และเรียกเฉพาะส่วนที๋สัมพันธ์กันนี้ว่า Protocol Stack ( ชุดของโพรโตคอลซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่าง คอมพิวเตอร์ในเครือข่าย )

1. โพรโตคอลตัวหนึ่งอาจจะทำหน้าที่กำหนดการติดต่อสื่อสาร ระหว่าง การ์ดเชื่อมต่อ เครือข่าย 2. ขณะที่โพรโตคอลอีกตัวหนึ่งทำหน้าที่กำหนดการอ่านข้อมูล จากการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น - Layerในที่นี้หมายถึงส่วนหนึ่งของProtocol Stack - ทำหน้าที่ในการรับ-ส่งข้อมูล - แต่ก็มีโพรโตคอลบางตัวที่สามารถทำงานได้ > 1 Function - ดังนั้น 1 Layer ใน Protocol Stack อาจจะไม่เท่ากับ 1 Layer ในโมเดล OSI

Protocol IPX / SPX - เป็นการรวมสองโพรโตคอลเข้าด้วยกันเพื่อให้เป็นโพรโตคอลหลักในการติดต่อสื่อสารในเครือข่ายที่ใช้ระบบปฏิบัติการเครือข่าย NetWare - IPX (Internetwork Packet Exchange) - SPX (Sequenced Packet Exchange) - Tunneling - Port

Protocol NetBEUI - มักจะพบในเครือข่ายที่ใช้ผลิตภัณฑ์จากMicrosoft - ผลิตภัณฑ์Microsoft เชื่อมต่อกันกับเครือข่ายจะใช้โพรโตคอล NetBEUIปรับแต่งได้ง่าย - เป็นโพรโตคอลที่Set upได้ง่ายมาก - ผู้บริหารเครือข่ายเพียงแต่กำหนด 1. ชื่อของคอมพิวเตอร์ที่ไม่ซ้ำ (Unique name) 2. กำหนดWork Groupในเครือข่ายเท่านั้น - ไม่ใช่โพรโตคอลที่หาเส้นทางวิ่งได้เอง

จุดด้อย - ที่เห็นได้ชัดคือมันไม่สามารถใช้เป็นโพรโตคอลของเครือข่ายขนาดใหญ่ได้ - เนื่องจากเครือข่ายขนาดใหญ่จำนวนมากจะใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Router ในการเชื่อมเครือข่ายย่อยเข้าด้วยกัน - ไม่ใช่โพรโตคอลที่หาเส้นทางวิ่งได้เอง (Non-ropable Protocol) ทำให้มันไม่สามารถวิ่งผ่านRouterได้

Hypertext Transfer Protocol (HTTP) และ Hypertext Markup Language (HTML) HTTP =โพรโตคอลที่ใช้สื่อสารระหว่าง Client computer กับ Server computer ทำให้ทั้งสองเครื่องรู้ว่าจะจัดการ ส่งข้อมูลไปอย่างไร HTML =สื่อภาษาที่ทำให้เอกสารหรือ contents ที่อยู่บน Server computer เมื่อถูกส่งมาที่ Client computer แล้วจะนำไปแสดงได้อย่างไร เราเรียกซอฟต์แวร์ที่ใช้แสดงนี้ว่า Browser

การแสดงการสนับสนุนการทำงานระหว่างโพรโตคอล HTTP และภาษา HTML

การติดต่อสื่อสารระหว่าง Web Server และ Client ผ่านโพรโตคอล HTTP

แสดงการให้บริการของ Web Server

TCP/IP กับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต - เครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สื่อสารระหว่างกันโดยใช้ Transmission Control Protocol (TCP) และ Internet Protocol (IP) รวมเรียกว่า TCP/IP - ข้อมูลที่ส่งจะถูกตัดออกเป็นส่วนๆ เรียก Packet แล้วจ่าหน้าไปยังผู้รับด้วยการกำหนด IP Address - IP Address - Domain Name System (DNS)

แสดงการแบ่งข้อมูลเป็นแพ็กเกจ

แสดงการใช้สายส่งข้อมูลร่วมกันของระบบคอมพิวเตอร์

การแสดงการส่งข้อมูลผ่านเกตเวย์

IP Address

การผนึกเฟรมข้อมูล TCP/IP ของ PPP เพื่อรับส่งผ่านพอร์ตอนุกรม

ภาพตัวอย่าง Domain และ IP Address ced.kmitnb.ac.th DNS : ชื่อโดเมน IP Address โดเมนระดับบนสุด บอกชื่อประเทศ โดเมนรอง บอกประเภทของเครือข่าย โดเมนรองลงมา บอกชื่อเครือข่ายท้องถิ่น โดเมนต่ำสุด บอกชื่อเรื่อง 202.44.35.99 ภาพตัวอย่าง Domain และ IP Address

การแบ่งกลุ่มโดเมนของสหรัฐอเมริกา ตัวอย่าง com Commercial Organizations : กลุ่มธุรกิจการค้า yahoo.com edu Education Organizations : สถาบันการศึกษา ucla.edu gov Government Organizations : หน่วยงานรัฐบาล whitehouse.gov mil Military Organizations : หน่วยงานทหาร navy.mill net Networking Organizations : หน่วยงานเกี่ยวกับเครือข่าย nyser.net org Non - Commercial Organizations : หน่วยงานไม่หวังผลกำไร ngo.org

การแบ่งกลุ่มโดเมนของประเทศอื่นๆ ตัวอย่าง ac Academic : สถาบันการศึกษา kmitnb.ac.th co Commercial : ภาคเอกชน bigc.co.th go Government : หน่วยราชการ mfa.go.th or Organizations : องค์กรที่ไม่หวังผลกำไร nectec.or.th net Network : องค์กรที่ให้บริการเครือข่าย ksc.net.th

ชื่อโดเมนของประเทศต่างๆ ar อาร์เจนตินา fi ฟินแลนด์ no นอร์เวย์ at ออสเตรีย fr ฝรั่งเศส nz นิวซีแลนด์ au ออสเตรเลีย gr กรีซ pl โปแลนด์ be เบลเยี่ยม ie ไอร์แลนด์ pt โปรตุเกส br บราซิล it อิสราเอล ru รัสเซีย ca แคนาดา in อินเดีย se สวีเดน ch สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี sg สิงคโปร์ cn จีน jp ญี่ปุ่น th ไทย de เยอรมัน kr เกาหลี tw ไต้หวัน dk เดนมาร์ก mx เม็กซิโก uk สหราชอาณาจักร eg อียิปต์ my มาเลเซีย us สหรัฐอเมริกา es สเปน nl เนเธอร์แลนด์