ประมวลกฎหมายอาญาทหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อบังคับกระทรวงกลาโหม
Advertisements

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทาน
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
แนวทางการลงโทษวินัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
วิชาว่าความและ การถามพยาน
บทที่ 2 ขอบเขตการใช้กฎหมาย
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การอบรมวินัยทหารสำหรับ ผบ.หน่วย และนายทหารสังกัด
กรอบการปฏิบัติในด้านการบริหารจัดการกำลังพล
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
กฎอัยการศึก พันโท นิติน ออรุ่งโรจน์ โดย
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
The Comptroller General’s Department
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
“การค้ามนุษย์”.
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
วินัยและสิทธิประโยชน์ของ พนักงานราชการ
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
กฎหมายที่เกี่ยวกับกระบวนงาน การสอบสวนคดีนอกราชอาณาจักร
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการช่วยเหลือเจ้าพนักงาน ของหน่วยกำลังคุ้มครองและรักษาความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บ้าน พ.ศ
หลักละทฤษฎีกฎหมายอาญา เรื่อง เงื่อนไขแห่งการลงโทษทางภาวะวิสัย โดย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
หน่วย แผนกธุรการและกำลังพล
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ศาลที่มีอำนาจชำระในคดีอาญา
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประมวลกฎหมายอาญาทหาร โดย พ.ท.นิติน ออรุ่งโรจน์

ลักษณะสำคัญของ ปอ.ทหาร เป็นกฎหมายบัญญัติความผิดเฉพาะ ของฝ่ายทหาร เป็นกฎหมายที่บังคับต่อพลเรือน เป็นกฎหมายบัญญัติความผิดคาบเกี่ยว กันระหว่างฝ่ายทหารกับฝ่ายพลเรือน เป็นกฎหมายที่เพิ่มโทษแก่ทหารที่ กระทำความผิดอาญา ขณะกำลังปฏิบัติ หน้าที่ราชการ

เหตุผลที่ทหารต้องตกอยู่ภายใต้ ปอ.ทหาร เพื่อประโยชน์ใน การบังคับบัญชา เพื่อควบคุม ทหารให้อยู่ใน วินัยทหารอย่าง เคร่งครัด

ทหารกองเกิน ทหารกองประจำการ แสดงตนเพื่อรับหมายเรียก ทหารกองเกิน ตรวจเลือก ปลด: ทหารกองหนุนประเภทที่ 1 รับราชการ 2 ปี ทหารกองประจำการ นักเรียนทหาร ทหารประจำการ จบ มัธยม , ป.ตรี - เอก นายทหารสัญญาบัตรประจำการ นายทหารประทวนประจำการ ข้าราชการกลาโหมพลเรือน ปลด:นายทหารกองหนุน พลทหารประจำการ นายทหารสัญญาบัตร/ประทวนนอกประจำการ ลูกจ้าง

ทหารกองหนุนประเภทที่ 1 รด. รด. สมัคร คำสั่งของ รมว.กห. ทหารกองหนุนประเภทที่ 1

ทหาร : บุคคลที่อยู่ในอำนาจกฎหมายฝ่ายทหาร(มาตรา 4 )(1) เป็นทหารโดยสภาพ - ทหารกองประจำการ - ทหารประจำการ

ทหาร : บุคคลที่อยู่ในอำนาจกฎหมายฝ่ายทหาร โดยสภาพแล้วไม่เป็นทหาร -ทหารกองหนุนหรือทหารกองเกินที่ถูกเรียกพล เพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชาทหาร หรือเพื่อทดลอง ความพรั่งพร้อมและในการระดมพล -นายทหารชั้นสัญญาบัตรนอกประจำการ เฉพาะ เมื่อกระทำผิดต่อคำสั่งหรือข้อบังคับตาม ปอ.ทหาร -นักเรียนทหารซึ่งเมื่อสำเร็จแล้วจะได้เป็น นายทหารชั้นสัญญาบัตรหรือนายทหารประทวน

ทหาร : บุคคลที่อยู่ในอำนาจกฎหมายฝ่ายทหาร โดยสภาพแล้วไม่เป็นทหาร -ผู้เข้ารับการฝึกวิชาทหารตามคำสั่งของ รมว.กห. -พลเรือนที่สังกัดในราชการทหาร เมื่อทำผิดในหน้าที่ราชการทหาร หรือทำผิดอื่นในบริเวณ อาคาร ที่ตั้งหน่วยทหาร ที่พักแรม เรือ อากาศ ยาน หรือยานพาหนะใด ๆ ในควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร(ทหาร พราน,ข้าราชการกลาโหมพลเรือน?) -ผู้ซึ่งต้องขังหรืออยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร -เชลยศึก หรือชนชาติศัตรูซึ่งอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหาร

นายทหารบก นายทหารเรือชั้น สัญญาบัตร/ ประทวนที่อยู่ใน กองประจำการ เจ้าพนักงาน เจ้าพนักงานตาม ปอ. คือ ผู้ได้รับแต่งตั้งตาม กฎหมายจากทางการไทยให้ ปฏิบัติหน้าที่ราชการ(ฎ 1787/24) ไม่ว่าจะได้รับ ผลประโยชน์ตอบแทน หรือไม่ก็ตาม(ฎ1397-8/24) นายทหารบก นายทหารเรือชั้น สัญญาบัตร/ ประทวนที่อยู่ใน กองประจำการ

การเปลี่ยนจากการดำเนินคดีเป็นลงทัณฑ์ มาตรา 7 ผู้มีอำนาจบังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร มี อำนาจลงทัณฑ์แก่ทหารผู้กระทำความผิดต่อวินัยทหารตามกฎหมาย ว่าด้วยวินัยทหาร ไม่ว่าเป็นการกระทำความผิดในหรือนอก ราชอาณาจักร มาตรา 8 การกระทำความผิดอย่างใด ๆ ที่บัญญัติไว้ในมาตรา 21 มาตรา 23 มาตรา 24 มาตรา 27 มาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 30 มาตรา 31 มาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 มาตรา 39 มาตรา 41 มาตรา 42 มาตรา 43 มาตรา 44 มาตรา 46 และมาตรา 47 แห่งประมวลกฎหมายนี้ ถ้าผู้มีอำนาจบังคับ บัญชาตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร พิจารณาเห็นว่าเป็นการเล็กน้อย ไม่สำคัญให้ถือว่าเป็นความผิดต่อวินัยทหาร และให้มีอำนาจลงทัณฑ์ ตามมาตรา 7 เว้นแต่ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการตามกฎหมายว่าด้วย ธรรมนูญศาลทหารจะสั่งให้ส่งตัวผู้กระทำความผิดไปดำเนินคดีในศาล ทหาร หรือจะมีการดำเนินคดีในศาลพลเรือนตามกฎหมายว่าด้วย ธรรมนูญศาลทหาร จึงให้เป็นไปตามนั้น มาตรา 9 ความที่บัญญัติไว้ในมาตรา 8 ให้ใช้ตลอดถึงความผิดลหุ โทษ และความผิดที่เปรียบเทียบได้ตามกฎหมายมาตรา 10 บรรดาบท ในพระราชกำหนด

โครงสร้างความรับผิดทางอาญาของทหาร มีการกระทำ การกระทำครบองค์ประกอบความผิดตาม ปอ.ทหาร หรือไม่ คิด ตกลงใจ ตระเตรียม ลงมือ พยายาม เป็นทหารหรือไม่ เป็นทหาร ไม่เป็นทหาร ไม่ครบ ครบ ไม่ผิด รับผิดเฉพาะในส่วนที่ทหารกระทำผิด รับผิดในส่วนที่บุคคลทั่วไปต้องรับผิด มีกฎหมายยกเว้นความผิดหรือโทษหรือไม่ ป้องกัน จำเป็น

เปลี่ยนจากอาญาทหารมาเป็นลงทัณฑ์ทางวินัยทหารได้หรือไม่ เป็นผู้รับทัณฑ์ ไม่เป็นผู้รับทัณฑ์ คดีขึ้นศาลพลเรือน ผิดเฉพาะตาม ม.8,9 นอกจากผิดตาม ม.8,9แล้ว ยังผิด ม.อื่นด้วย ดำเนินคดีในศาลทหารหรือศาลพลเรือนแล้วแต่กรณี ผบ.พิจารณาว่า เล็กน้อย ผบ.พิจารณาว่า ไม่เล็กน้อย เล็กน้อย ลงทัณฑ์ อัยการทหาร ผู้มีอำนาจแต่งตั้งตุลาการ ไม่เล็กน้อย

หลักทั่วไปที่เกี่ยวกับกฎหมายอาญาทหาร ตัวการ บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่ได้ร่วมกระทำความผิด ด้วยกัน ผู้ใช้ - ผู้ก่อให้ผู้อื่นกระทำผิดไม่ว่า ด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรือยุยง ส่งเสริม หรือด้วย วิธีอื่นใด หรือ - ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่ บุคคลทั่วไปให้กระทำความผิด และความผิดนั้นมีกำหนดโทษ ไม่ต่ำกว่า 6 เดือน

หลักทั่วไปที่เกี่ยวกับกฎหมายอาญาทหาร ผู้สนับสนุน ผู้กระทำด้วยกระการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือหรือให้ความ สะดวกในการที่ผู้อื่นกระทำความผิดก่อนหรือขณะกระทำความผิด แม้ผู้กระทำความผิดจะมิได้รู้ถึงการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวก นั้นก็ตาม

การอ่านคำพิพากษาของศาล มาตรา 12 เมื่อศาลทหารพิพากษาเด็ดขาดให้ลงโทษแก่ ทหารคนใด ท่านว่าให้ ผู้ซึ่งบังคับบัญชาทหาร ผู้มีอำนาจ สั่งให้ลงโทษตามคำพิพากษานั้นวินิจฉัยตามเหตุการณ์ ถ้า เห็นสมควรจะสั่งให้อ่านคำพิพากษาให้จำเลยฟังต่อหน้า ประชุมทหารหมู่หนึ่งหมู่ใดตามที่เห็นสมควรก็ได้

เชลยศึก ฐานความผิด เชลยศึก เสียสัตย์ (มาตรา 13) องค์ประกอบภายนอก เป็นเชลยศึก - ได้รับการปล่อยตัวไปโดยให้คำสัตย์ไว้ว่า จะไม่กระทำการรบพุ่งต่อรัฐอีกจนตลอดเวลาสงครามคราวนั้น - ต่อมา เสียสัตย์(กลับมารบพุ่งกับฝ่ายเราและฝ่ายเราจับตัวได้) องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา

สายลับ ลักลอบสอดแนม (มาตรา 14) ปิดบัง ช่วยผู้ลักลอบสอดแนม (มาตรา 15) เป็นราชศัตรู ผู้ใด - ปลอมตัว - เข้าไปใน ป้อม ค่าย เรือรบ หรือสถานที่ใด ๆ อันเป็นของสำหรับทหาร หรือมีทหารของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตั้งอยู่ไซร้ - ปิดบัง/ซ่อนเร้น /ช่วยผู้ลักลอบสอดแนม เจตนธรรมดา เจตนาธรรมดา

ให้ประโยชน์แก่ราชศัตรู ปิดบัง ช่วยราชศัตรู (มาตรา 15) เป็นทหารเกลี้ยกล่อมคน เป็นราชศัตรู (มาตรา 16) เป็นทหาร ยอมแพ้แก่ราชศัตรู(มาตรา 17) ยุยงหรือข่มขืนใจ หรือสมคบกันเพื่อยุยงหรือข่มขืนใจ ให้ยอมแพ้แก่ราชศัตรู(มาตรา 18) เป็นนายเรือ ถอยเรือจากที่รบ (มาตรา 19) เป็นทหารหรือพลเรือนก็ได้ เป็นทหาร - เป็นทหาร - มีหน้าที่บังคับกองทหารใหญ่น้อย ป้อม ค่าย เรือรบ หรือสถานที่อย่างใด ๆ ของทหารของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - เป็นนายเรือ - มีหน้าที่ควบคุมเรือของทหาร ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - ปิดบัง/ซ่อนเร้น/ช่วยราชศัตรูที่กระทำเช่นว่ามาในมาตรา 14 เกลี้ยกล่อมคนให้ไปเข้าเป็นพวกราชศัตรู ยอมแพ้ยกกองทหาร ป้อม ค่าย เรือรบ หรือสถานที่นั้น ๆ ให้แก่ราชศัตรู โดยที่ยังไม่สิ้นกำลังและสามารถที่จะป้องกันและต่อสู้ข้าศึก - ยุยง/ข่มขืนใจ/สมคบกันเพื่อยุยงหรือข่มขืนใจต่อ ผู้บังคับกองทหาร - ในขณะกระทำการรบพุ่ง - ถอยเรือออกเสียจากที่รบนั้นโดยไม่มีเหตุอันสมควร เจตนาธรรมดา - เจตนาพิเศษเพื่อให้ผู้บังคับกองทหาร ป้อม ค่าย เรือรบ หรือสถานที่ใด ๆ ของ ทหาร ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยอมแพ้แก่ราชศัตรู

เรือชำรุด/อับปาง เป็นนายเรือจงใจกระทำหรือปล่อยให้เรือ ชำรุดหรืออับปาง (มาตรา 20) เป็นนายเรือ กระทำหรือปล่อยให้เรือชำรุดหรืออับปางด้วยความประมาท (มาตรา 21) ทำให้เรือชำรุดหรืออับปาง (มาตรา 22) ทำให้เรือชำรุดหรืออับปางด้วยความประมาท (มาตรา 23) ลดโทษกรณีกระทำแก่เรือใช้เดินในลำน้ำ (มาตรา 24) - เป็นนายเรือ - มีหน้าที่ควบคุมเรือของทหาร ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - เป็นทหาร หรือพลเรือนก็ได้ - เป็นทหารหรือพลเรือนก็ได้ - ถ้ากระทำความผิดตามมาตรา 20 , 21 , 22 และ 23 แก่เรือสำหรับใช้เดินในลำน้ำ จงใจกระทำหรือปล่อยให้เรือ ชำรุดหรืออับปาง กระทำหรือปล่อยให้เรือนั้น ชำรุดหรืออับปาง - กระทำหรือปล่อยให้เรือลำหนึ่งลำใดของ ทหารของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ชำรุดหรืออับปาง กระทำหรือปล่อยให้เรือของทหาร ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ชำรุดหรืออับปาง - ควรลดอาญาอย่างหนักที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 20, 21, 22, 23 ลงกึ่งหนึ่ง - มิให้ศาลต้องถือตามอาญาอย่างเบาที่บัญญัติไว้เป็น ประมาณในการที่จะปรับโทษผู้กระทำผิด เจตนาธรรมดา โดยประมาท

หมิ่นประมาท หมิ่นประมาทแก่ทหารยามรักษาการ/ทหารอยู่ยามประจำหน้าที่ (มาตรา 37) เป็นทหารหมิ่นประมาทใส่ความ หรือโฆษณาความหมิ่นประมาท (มาตรา 41) เป็นทหารหรือพลเรือนก็ได้ เป็นทหาร - หมิ่นประมาท แก่ทหารยามรักษาการ/ทหารอยู่ยามประจำหน้าที่ - หมิ่นประมาท ใส่ความ หรือโฆษณาความหมิ่นประมาท - แก่ผู้บังคับบัญชาหรือแก่นายทหารผู้ใหญ่เหนือตน เจตนาธรรมดา เพิ่มโทษ:กระทำต่อหน้าราชศัตรู เวลาสงคราม เขตใช้กฎอัยการศึก

ขัดขืน เป็นทหารขัดขืนละเลยไม่ทำตามคำสั่ง (มาตรา 30) เป็นทหารขัดขืนมิกระทำตามคำสั่งอย่างองอาจ (มาตรา 31) เป็นทหารขัดขืนหรือละเลยมิกระทำตาม ข้อบังคับ (มาตรา 32) เป็นทหารขัดขืนมิกระทำตามข้อบังคับ อย่างองอาจ (มาตรา 33) เป็นทหาร ขัดขืนหรือละเลยมิกระทำตาม คำสั่ง - ขัดขืนมิกระทำตามคำสั่ง - โดยมันแสดงความขัดขืนด้วยกิริยา หรือวาจาองอาจต่อหน้าหมู่ทหารถืออาวุธ ขัดขืนหรือละเลยมิกระทำตาม ข้อบังคับ - ขัดขืนมิกระทำตาม ข้อบังคับ - โดยมันแสดงความขัดขืนด้วยกิริยาหรือวาจาองอาจต่อหน้า หมู่ทหารถืออาวุธ เจตนาธรรมดา เพิ่มโทษ:กรณีกระทำต่อหน้าราชศัตรู เวลาสงคราม เขตใช้กฎอัยการศึก

คำสั่ง(มาตรา 4) บรรดาข้อความ ผู้บังคับบัญชาทหาร ผู้ถืออำนาจอันสมควร เป็นผู้สั่ง สั่งไปโดยสมควรแก่กาลสมัยและชอบด้วยพระราช กำหนดกฎหมาย เมื่อผู้รับคำสั่งนั้นได้กระทำตามแล้ว ก็เป็นอันหมดเขต ของการที่สั่งนั้น

ข้อบังคับ บรรดาข้อบังคับและกฎต่าง ๆ ที่ให้ใช้อยู่เสมอ ผู้บังคับบัญชาทหาร ผู้ถืออำนาจอันสมควรได้ออกไว้โดย สมควรแก่กาลสมัยและชอบด้วยพระราชกำหนดกฎหมาย

ทำร้าย(1) แสดงความอาฆาต มาทร้ายต่อผู้บังคับบัญชา หรือต่อทหารที่เป็นใหญ่เหนือมัน (มาตรา 41) ขู่เข็ญทหารยาม(มาตรา 37) ทำร้ายทหารยามรักษาการ หรือแก่ทหารอยู่ยามประจำหน้าที่ (มาตรา 36) เป็นทหารใช้กำลังทำร้ายทหารผู้ใหญ่เหนือมัน (มาตรา 39) เป็นทหารกระทำการประทุษร้าย แก่ผู้บังคับบัญชา(มาตรา 38) เป็นทหาร เป็นทหารหรือพลเรือนก็ได้ แสดงความอาฆาต มาทร้าย ต่อผู้บังคับบัญชา หรือต่อ ทหารที่เป็นใหญ่เหนือมัน - ขู่เข็ญว่า จะกระทำร้าย - แก่ทหารรักษาการ หรือแก่ทหารอยู่ยามประจำหน้าที่ - ใช้กำลังทำร้าย - แก่ทหารยามรักษาการ หรือแก่ทหารอยู่ยามประจำหน้าที่ - แก่ทหารซึ่งเป็นผู้ใหญ่เหนือตน - ใช้กำลังการประทุษร้าย - แก่ผู้บังคับบัญชา เจตนาธรรมดา เพิ่มโทษ:กรณีกระทำต่อหน้าราชศัตรู เวลาสงคราม เขตใช้กฎอัยการศึก - เพิ่มโทษ:กรณีกระทำต่อหน้าราชศัตรู เวลาสงคราม เขตใช้กฎอัยการศึก - ให้รับผิดในส่วนเหตุฉกรรจ์ใน ปอ.ด้วย ให้รับผิดตาม ปอ.ด้วยกรณีตาย สาหัส

ทำร้าย(2) ฐานความผิด เป็นทหารทำร้ายร่างกาย (มาตรา 50) องค์ประกอบภายนอก - เป็นทหาร - มีหน้าที่เป็นยามรักษาการ หรืออยู่ยามประจำหน้าที่ หรือกระทำการใดที่มีอาวุธของหลวงประจำตัว ทำร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจตาม ปอ. องค์ประกอบภายใน เจตนาธรรมดา ต้องรับโทษตาม ปอ.และให้เพิ่มโทษ

หนีราชการ หนีราชการทหารในเวลาประจำการ(มาตรา 45) ประการแรก ขาดจากหน้าที่ราชการโดยมิได้รับอนุญาต เมื่อพ้น กำหนดอนุญาตลา + เจตนาหลีกเลี่ยงคำสั่งให้เดินกองทหาร หรือ เดินเรือไปจากที่ หรือคำสั่งเรียกระดมเตรียมศึก หรือ ประการที่ 2 ขาดจากหน้าที่ราชการโดยมิได้รับอนุญาต เมื่อพ้น กำหนดอนุญาตลา + - ขาด 24 ชั่วโมง ต่อหน้าราชศัตรู - ขาด 3 วัน ถ้ามิใช่ต่อหน้าราชศัตรู แต่ในเวลาสงคราม/ประกาศใช้ กฎอัยการศึก - ขาด 15 วัน ในที่และเวลาอื่น

หนีราชการ ข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยการลงทัณฑ์ทหาร ขาดหนีราชการ พ.ศ.2528 ใช้บังคับกับทหารกองประจำการเท่านั้น มีการกำหนดกรอบการใช้ดุลพินิจในการดำเนินการ ข้อ 7. ทหารซึ่งขาดราชการหรือหนีราชการในเวลาปกติ ให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติดังต่อไปนี้ 7.1 ขาดราชการแล้วกลับเอง ครั้งที่ 1 ทำทัณฑกรรมไม่เกิน 3 วัน ครั้งที่ 2 ขังกึ่งจำนวนวันที่ขาดราชการ ครั้งที่ 3 และครั้งต่อ ๆ ไป ขังเท่าจำนวนวันที่ขาดราชการ ฯลฯ