การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ สายอนามัยสิ่งแวดล้อมใน 3 ประเด็น มีความจำเป็นที่ต้องอาศัยหลักการทาง วิทยาศาสตร์ ด้วยการใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ ทั้งทางภาคสนามและทางห้องปฏิบัติการ ประกอบการปฏิบัติงานให้สมบูรณ์ น่าเชื่อถือ และเป็นระบบมากขึ้น
การพัฒนาระบบการตรวจวิเคราะห์ฯ การบริหารจัดการ นโยบายและงบประมาณ ระบบการทำงาน เครื่องมือและวิธีการ บุคลากร - มีความรู้และทักษะในการใช้ เครื่องมือภาคสนามและ ห้องปฏิบัติการ - มีความสามารถในการ วิเคราะห์และแปลผล ตามมาตรฐาน ทันสมัย ง่ายต่อการใช้งาน วิธีการตรวจวิเคราะห์ เป็นไปตามวิธีมาตรฐาน เครือข่ายในการ ตรวจวิเคราะห์ฯ - มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน - มีระบบฐานข้อมูล เช่น ข้อมูลผลการตรวจวัดวิเคราะห์ - มีระบบการให้บริการที่รวดเร็ว
แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนางานด้านการตรวจวิเคราะห์ฯ (ปีงบประมาณ 2556-2559) แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนางานด้านการตรวจวิเคราะห์ฯ (ปีงบประมาณ 2556-2559) ระบบการทำงาน เครื่องมือ และมาตรฐานวิธีการ 1. การพัฒนาศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย - พัฒนาให้ได้การรับรองมาตรฐาน ISO/ IEC : 17025 - พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางห้องปฏิบัติการอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับ งานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม - เตรียมความพร้อมในการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำบริโภค ตู้น้ำดื่ม หยอดเหรียญ น้ำเสีย และเชื้อจุลินทรีย์ในอากาศให้ทันต่อสถานการณ์ - ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาชุดทดสอบอย่างง่าย เช่น การตรวจทางชีวภาพ (เชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค) และทางเคมี (เช่น ฟลูออไรด์ เป็นต้น)
แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนางานด้านการตรวจวิเคราะห์ฯ (ต่อ) ระบบการทำงาน เครื่องมือ และมาตรฐานวิธีการ 2. จัดให้มีเครื่องมือภาคสนามครอบคลุมงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับส่วนกลางและศูนย์อนามัยที่ 1-12 - สำรวจรายการเครื่องมือฯ ที่มีอยู่ในปัจจุบันของทั้งส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยที่ 1-12 - จัดทำแผนและงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องวัสดุอุปกรณ์พื้นฐาน และตามความต้องการเพิ่มเติมของศูนย์อนามัยที่ 1-12 (สำนักอนามัย สิ่งแวดล้อม :ปีงบประมาณ 2556) - จัดทำแผนการซ่อมและบำรุงรักษา และการสอบเทียบเครื่องมือ
แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนางานด้านการตรวจวิเคราะห์ฯ (ต่อ) ระบบการทำงาน เครื่องมือ และมาตรฐานวิธีการ 3. รถตรวจวัดด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเคลื่อนที่ (Mobile Unit) สำหรับสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมและศูนย์อนามัยที่ 1-12 - กำหนดคุณลักษณะของรถตรวจวัดด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเคลื่อนที่ (Mobile Unit) - ออกแบบรถตรวจวัดฯ และศึกษารายการเครื่องมือ-อุปกรณ์ที่ควร กำหนดให้มี - จัดทำแผนและงบประมาณในการจัดซื้อรถตรวจวัดฯ (สำนักอนามัย สิ่งแวดล้อม : ปีงบประมาณ 2556)
แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนางานด้านการตรวจวิเคราะห์ฯ (ต่อ) ระบบการทำงาน เครื่องมือ และมาตรฐานวิธีการ 4. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1-12 - ออกแบบห้อง กำหนดรายการครุภัณฑ์ วัสดุ-อุปกรณ์ พร้อมทั้งSpec และรายละเอียดอื่นๆ (ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย ร่วมกับสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม : ปีงบประมาณ 2556) - จัดทำแผนและงบประมาณในการจัดซื้อครุภัณฑ์ และจัดจ้างปรับแต่งห้อง (สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ร่วมกับศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย: ปีงบประมาณ 2556) - ดำเนินการจัดจ้างปรับแต่งห้อง จัดซื้อครุภัณฑ์ และวัสดุ-อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดหาบุคลากรในการดำเนินงาน (ศูนย์อนามัย ร่วมกับ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย)
ศักยภาพการตรวจวิเคราะห์ของศูนย์ปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ฯ 1. ทางห้องปฏิบัติการ ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำบริโภค เช่น pH สี ความขุ่น ความกระด้าง TDS และ โลหะหนัก; ตะกั่ว แคดเมียม สังกะสี เหล็ก เป็นต้น ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้ง/น้ำเสีย เช่น BOD COD ของแข็งแขวนลอย ไนโตรเจน ไขมันและน้ำมัน และซัลไฟด์ เป็นต้น ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร เช่น โคลิฟอร์มแบคทีเรีย และฟีคัลโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย เป็นต้น 2. ภาคสนาม (เครื่องมือภาคสนาม และ ชุดทดสอบอย่างง่าย) การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ เช่น ความขุ่น DO pH คลอรีนอิสระคงเหลือ และ โลหะหนักต่างๆ เป็นต้น การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอากาศ เช่น ฝุ่น VOC โอโซน ฟอร์มัลดีไฮด์ SO2 NOx การตรวจวิเคราะห์เสียง ความสั่นสะเทือน แสงสว่าง เป็นต้น
แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนางานด้านการตรวจวิเคราะห์ฯ (ต่อ) บุคลากร 5. การพัฒนาบุคลากร - จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ให้กับศูนย์อนามัยที่ 1-12 เพื่อปฏิบัติงานในศูนย์ปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1) เพิ่มโครงสร้างกรอบอัตรากำลังให้สอดคล้องกับเนื้องานและปริมาณงาน 2) การสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการดำเนินงาน - จัดอบรมการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ภาคสนาม และการแปลผลข้อมูล ให้กับเจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ 1-12 และส่วนกลางที่เกี่ยวข้อง (สำนักอนามัย สิ่งแวดล้อม : ปีงบประมาณ 2556)
แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนางานด้านการตรวจวิเคราะห์ฯ (ต่อ) 5. การพัฒนาบุคลากร (ต่อ) - จัดให้มีการฝึกอบรมเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น เทคนิคการตรวจ วิเคราะห์ การแปลผล การใช้เครื่องมือทางห้องปฏิบัติการ การบริหาร จัดการศูนย์ปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และศูนย์อนามัยที่ 1-12) - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ทั้งในและต่างประเทศ 6. พัฒนาระบบงานด้านการตรวจวิเคราะห์ฯ - มีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง - มีการประชาสัมพันธ์ศักยภาพในการตรวจวิเคราะห์ฯอย่างต่อเนื่อง - พัฒนาระบบการตรวจวิเคราะห์ฯสู่ระบบสากล
สวัสดี