Service Plan: แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
บริการคุณภาพ ปลอดภัย ไร้รอยต่อ วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย - ลดอัตราป่วย - Better Service(s) - Satellite OPD - ลดอัตราตาย - More Efficiency - Centralized IPD - มาตรฐานการบริการ - New Initiative - New Management - เข้าถึงบริการ - ลดค่าใช้จ่าย
เป้าหมาย ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย มาตรฐานการบริการ เข้าถึงบริการ - DM/HT/CKD ลดอัตราตาย - โรคหัวใจ/ อุบัติเหตุ/ มะเร็ง / STOKE มาตรฐานการบริการ - ผ่าตัดหัวใจ/ฉายแสง/ NICU/ ผ่าตัดคลอด/ผ่าตัดไส้ติ่ง ฯลฯ เข้าถึงบริการ - ศสม./ ผู้ป่วยNCD ใน รพ.สต/ การส่งต่อ/ ลดคิวลดระยะเวลารอคอย ลดค่าใช้จ่าย - การบริหารเวชภัณฑ์/ พบส. พี่น้องช่วยกัน/แบ่งปันเครื่องมือ ฯลฯ
การพัฒนาระบบบริการ 3 Approach 10 สาขา - ลดอัตรา 1. เครือข่ายมาตรฐาน ป่วย - มาตรฐาน การบริการ - เข้าถึง บริการ - ลด ค่าใช้จ่าย ตาย 3 Approach 1. เครือข่ายมาตรฐาน 2. ระบบการบริการที่ มีประสิทธิภาพ 3. โรคที่เป็นปัญหา 10 สาขา 1.หัวใจและหลอด เลือด 2. มะเร็ง 3. อุบัติเหตุ 4. ทารกแรกเกิด 5 จิตเวช 6. ตาและไต 7. 5 สาขา 8. ทันตกรรม 9. บริการปฐมภูมิ และสุขภาพองค์รวม 10. NCD Emergency - Fast Tract STEMI NSTEMI STROKE TRAUMA Newborn
การจัดระดับสถานบริการสุขภาพใน Service plan 2555-2559 จังหวัดเลย :Advance-Level Referral Hos. รพศ.อุดรธานี :Standard-Level Referral Hos. รพ.เลย :Mid-Level Referral Hos. (รพช.แม่ข่าย) รพร.ด่านซ้าย :Mid-Level Referral Hos. F2 :(รพช.) 11 แห่ง - รพ.วังสะพุง Function M2 :First-Level Referral Hos. F3 :รพช.ขนาดเล็ก สร้างใหม่ 2554= หนองหิน : Primary Care P1= 1 แห่ง (สอ.เฉลิมพระเกียรติฯ) P2= 126 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 8 แห่ง รพ.สต.ขนาดกลาง 77 แห่ง รพ.สต.ขนาดเล็ก 42 แห่ง
Purchaser AREA HEALTH BOARD (เขตสุขภาพ) (PROVIDER BOARD) 1.Service Achievement Plan 10 สาขา รายเขต รายจังหวัด ราย รพ. 1.1 10สาขา +Area Problem (เช่นมะเร็งท่อนำดีอีสาน) + Special (โครงการพระราชดำริ +สาธารณสุขชายแดน + ยาเสพติด ) .2 Refer System .3 การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย .4 ร่วมกับเอกชน,รพ.กระทรวงอื่นๆ .5 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ .6 ฯลฯ 2. Administrative Plan 2.1 เงินบำรุง 2.2 จัดซื้อยาร่วม 2.3 ซื้อวัสดุ Lab. ร่วม 2.4 ซื้อวัสดุการแพทย์ร่วม 2.5 แผนบุคลากร Purchaser (สปสช. ปกส. กรมบัญชีกลาง ,อปท.,รัฐวิสาหกิจ) AREA HEALTH BOARD (เขตสุขภาพ) (PROVIDER BOARD) 4. แผนส่งเสริมป้องกันโรค และร่วมภาคีเครือข่าย 4.1 กลุ่มวัยต่างๆ (ทารก,0-2ปี,3-5ปี,นักเรียน,วัยรุ่น+BS)ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทย, ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 4.2 ป้องกันโรคไม่ติดต่อตามปัญหาของพื้นที่(เช่น อาชีวอนามัย COPD มะเร็งในพื้นที่) 4.3 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ 4.4 อาหารปลอดภัย ,สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ,ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคส่วนต่างๆ 4.5 สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ(เหล้า บุหรี่ Road Safety 4.6 DHS 4.7 ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 4.8 ลดตาย อุบัติเหตุ เด็กจมน้ำตาย ฯลฯ 3. Investment Plan เขต
ขั้นตอนการจัดทำแผน ประเมินสถานการณ์/ปัญหา (Situation Analysis) จัดทำแผนและโครงสร้าง (set service unit and job description) จัดทำ Gap Analysis และ Action Plan ของแต่ละ หน่วยบริการ
สาขาบริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. ศสม.มีมาตรฐาน ครอบคลุมประชากรเขตเมือง ทุกคน 2. OP ใน รพ.ไม่เพิ่มในปี 2556 (ลดลง 30%ใน 5 ปี) 3. โรคเรื้อรัง รักษาโดย รพ.สต./ศสม. มากกว่า 50 % ภายใน 3 ปี 1.โครงสร้าง 1. เพิ่มอัตรากำลังคนให้ครบ 1:1,250 2. เพิ่มศักยภาพทุกวิชาชีพ (นสค.) ใน รพ.สต. ตาม Minimum Requirement ให้ พร้อมบริการ 3. จัดให้มีแพทย์ที่ปรึกษาเพื่อ ดูแลประชาชนในพื้นที่ผ่าน นสค. 4. พัฒนาระบบปฐมภูมิในเขต เมืองโดยมี ศสม.ตามเกณฑ์ มาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนเขต เมืองเข้าถึงบริการและลดความ แออัดใน รพ.ขนาดใหญ่ 5. พัฒนาคุณภาพบริการของ รพ.สต.ให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงบริการและลดความแออัด ใน รพ. พัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิทุกแห่งตามกระบวน PCA โดยยกระดับคุณภาพตามเกณฑ์ PCA ตามลำดับขั้น
สาขาบริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม(ต่อ) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 2. เครือข่ายมาตรฐาน 1. สร้างความเข้มแข็งเครือข่าย วิชาชีพ เช่น APN NP นวก. ทันตะ 2. พัฒนาคุณภาพเครือข่าย บริการสุขภาพปฐมภูมิ(PCA) ให้ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เป็น ลำดับขั้น 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการ สุขภาพระดับอำเภอ เพื่อ สนับสนุนการพัฒนาปฐมภูมิ 3. ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ 1. พัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับโรงพยาบาลแม่ข่าย 2. พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย เรื้อรังใน รพ.สต./ศสม. จัดศสม. บริการ บริการประชาชนในเขตเมือง(เทศบาล) เป้าหมายระยะสั้น 1. ศสม.ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน OP visit เป็นไป ตามเกณฑ์ 60:40 2. OP ใน รพ.ไม่เพิ่ม เป้าหมายระยะยาว 2. OP ใน รพ.ลดลง 30%
สาขาบริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม(ต่อ) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 4. โรคที่เป็นปัญหา - พัฒนาศักยภาพ รพ.สต./ศสม. ในการดูแลผู้ป่วย Stroke /STEMI /MCH/Trauma เป็นต้น สนับสนุนระบบบริหารจัดการเครือข่ายบริการปฐมภูมิระดับอำเภอ(DHS : District Health System) เป้าหมายระยะสั้น 1. ร้อยละ 25 ของอำเภอ เป้าหมายระยะยาว 1. ร้อยละ 100 ของอำเภอ
(แต่ละระดับสถานบริการ) สาขาทันตกรรม เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. ลดความแออัดของบริการ ทันตกรรมใน รพ. 1. ประชนเข้าถึงบริการส่งเสริม ป้องกัน รักษาพื้นฐาน 1. จัดทันตบุคลากรหมุนเวียนให้บริการใน ศสม.(ทันตแพทย์ ทันตาภิบาล) 2. เพิ่มจำนวนทันตาภิบาลปฏิบัติงานในรพ.สต. 3. พัฒนา นสค. และเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต.ให้สามารถดูแลงานทันตกรรมส่งเสริมป้องกันในรพ.สต.ที่ไม่มี ทันตาภิบาลทุกแห่ง
สาขาหัวใจและหลอดเลือด เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. ผู้ป่วยโรคหลอดเลือด หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน มากกว่า 50% ได้รับการ รักษาด้วยการเปิดเส้น เลือดด้วยการให้ยา Streptokinase หรือขยาย หลอดเลือดด้วยบอลลูน หรือได้รับการส่งต่อเพื่อให้ ยาละลายลิ่มเลือด/ทำ บอลลูนขยายเส้นเลือด เท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 50% ในปี 2556 และ มากกว่า 80% ในปี 2558 1. เพิ่มขีดความสามารถระบบ บริการสถานบริการแต่ละระดับ ตามมาตรฐาน - การตรวจวินิจฉัยและบำบัดรักษา - ด้านการส่งเสริมป้องกัน - ระบบยา - การส่งต่อ - ด้านการติดตามดูแล 2. เครือข่าย STEMI 3. เครือข่าย NSTEMI/UA 4. ระบบการดูแลผู้ป่วยหัวใจ ล้มเหลว 5. ระบบการรักษาด้วยยาต้าน การแข็งตัวของเลือด 1. สถานที่/เครื่องมือ/เวชภัณฑ์ 1.1 มี Stroke unit ระดับ S (ที่พร้อม) 1.2 มีคลินิกวาร์ฟาริน ระดับ S M2 1.3 heart failure clinic ระดับ S 1.4 ระดับ S สามารถให้ Thrombolytic agent ได้ใน1 ปี 1.5 รพ.ระดับ F2 สามารถให้ fibrinolytic drug เพิ่มขึ้น (ปี 56) ได้แก่ ภูหลวง ท่าลี่ เชียงคาน และเอราวัณ 1.6 มีคู่มือการดำเนินงานคลินิกวาร์ฟาริน 2. จัดหาและพัฒนาบุคลากร 2.1 มีพยาบาลเฉพาะทางโรคหัวใจและทรวงอก (รพ.ระดับ S) 2.2 พยาบาล case manager (ระดับ S) 2.3 เภสัชกรผู้รับผิดชอบคลินิก วาร์ฟาริน ได้รับอบรมทุกคน (ระดับ S) 2.4 ผู้รับผิดชอบได้รับการอบรมการคัดกรองเบื้องต้นและการส่งต่อผู้ป่วยไปสู่ รพ.ระดับสูงกว่า (ระดับ S M2 F1-F3 รพ.สต)
(แต่ละระดับสถานบริการ) สาขามะเร็ง เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. ภาคอีสานมีไข่พยาธิใบไม้ ตับ น้อยกว่า 10% ใน 5 ปี 2. สตรีไทยมีการตรวจเต้านม จนสามารถพบมะเร็งระยะ 1-2 มากกว่าหรือเท่ากับ 80 % ในปี 57 3. ตรวจคัดกรองมะเร็งปาก มดลูกได้มากกว่า ร้อยละ 80 ใน 3 ปี 4. คิวระยะฉายแสงลดลงกว่า 50% ใน 3 ปี 1. การป้องกัน Primary Prevention 2. การวินิจฉัยครอบคลุม พัฒนา ศักยภาพการวินิจฉัย 3. พัฒนาการรักษาครอบคลุม 4. การส่งต่อรักษาทันท่วงที 5. การดูแล Palliative Care 1. สถานที่/เครื่องมือ/เวชภัณฑ์ 1. จัดตั้งคลินิกอดบุหรี่ อดเหล้า (รพ.ทุกแห่ง) 2. จัดตั้งคลินิกวัยใส (รพท./รพช.อย่างน้อย 5 แห่ง) 3. คลินิกตรวจพยาธิใบไม้ในตับ (รพ.ทุกแห่ง) 2. จัดหาและพัฒนาบุคลากร 1. จัดตั้งแกนนำมะเร็ง case manager (รพ./รพ.สต./หมู่บ้าน) 2. แผนการให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคมะเร็งต่างๆ(สถานบริการทุกระดับ)
(แต่ละระดับสถานบริการ) สาขาอุบัติเหตุ เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. ทุก รพ.ได้มาตรฐาน 1,2,3 ตามที่กําหนด ใน 3-5 ปี 2. อัตราตายจากอุบัติเหตุ ทางถนนไม่เกิน 10 ต่อ ประชากรแสนคน 3. การตายในรพ.ที่มี การให้ PS (≥0.75) ตายน้อยกว่า 30% ใน 1-3 ปี 1. ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล 2. การดูแลผู้บาดเจ็บในเครือข่าย 3. การดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบ 4. ระบบฟื้นฟูผู้บาดเจ็บเมื่อพ้นวิกฤต 5. การพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อนำมาพัฒนาระบบบริการ 1. สถานที่/เครื่องมือ/เวชภัณฑ์ - จัดรูปแบบโครงสร้างเครือข่ายของศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บให้ครอบคลุมการบริบาลผู้บาดเจ็บแต่ละระดับ ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประชากร การคมนาคมและปัจจัยอื่น เช่น ความถี่ของการบาดเจ็บสถานบริการทุกแห่ง (ระดับS-F3 รพ.สต.) - พัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บในระดับ 1-4 ให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด - ประเมินคุณภาพหน่วยบริการอย่างต่อเนื่อง - การใช้เกณฑ์คัดแยกผู้ป่วยตาม พรบ.การแพทย์ฉุกเฉินเป็นแนวทางเดียวกัน ตั้งแต่รับแจ้งเหตุจนถึงห้องฉุกเฉิน 2. จัดหาและพัฒนาบุคลากร - อบรม RN ใน ศศม/รพ.สต เรื่องแนวทางการคัดแยกผู้ป่วยตาม พรบ.การ แพทย์ฉุกเฉิน
(แต่ละระดับสถานบริการ) สาขาทารกแรกเกิด เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. มี NICU ตามเกณฑ์ เพียงพอ จนไม่มีการ Refer นอกจังหวัด นอกเครือข่าย ตามชนิดคนไข้ใน 3 ปี 1. เพิ่มขีดความสามารถระบบ บริการสถานบริการแต่ละระดับ ตามมาตรฐาน 1. สถานที่/เครื่องมือ/เวชภัณฑ์ - จัดหาครุภัณฑ์ตามเกณฑ์มาตรฐานระดับรพ. - เพิ่มจำนวนเตียง NICU Unit รพ.ระดับ S - เปิด NICU unit รพ.ระดับ M2 - จัดทำคู่มือ มาตรฐานการดูแลหญิงตั้งครรภ์และการดูแลทารกแรกเกิด 2. จัดหาและพัฒนาบุคลากร - มีกุมารแพทย์ ใน รพ.ระดับ M2 F1 - มีพยาบาลเฉพาะทางการดูแลทารก แรกเกิด รพ.ระดับ S - มีพยาบาลเฉพาะทางวิกฤตเด็ก และทารก รพ.ระดับ S - มีพยาบาลเวชปฏิบัติทารกแรกเกิด รพ.ระดับ S M2 - อบรมผู้รับผิดชอบ เรื่อง การ ดูแลทารกแรกเกิดหลักสูตร 3 วัน ใน รพ.ทุกแห่ง - On the job training พยาบาล เรื่อง การดูแลทารกแรกเกิด ทุก รพ.
สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) มีจิตเวชบริการทุกระดับตามมาตรฐานภายใน ๕ ปี อย่างมีเป้าหมาย เป็นระยะทุกปี ทุกระดับโรงพยาบาล (A,S,M1, M2, F1,F2,F3,ปฐมภูมิ) แยกตามกลุ่มวัย ดังนี้ เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ 1. มีบุคลากรทางจิตเวชตาม เกณฑ์ 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน จิตเวชและสุขภาพจิตตามเกณฑ์ 3. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการ บริการตามเกณฑ์ 1. จัดหาและพัฒนาบุคลากรด้าน จิตเวช 1.1 แพทย์ - รพ.ระดับ M1-F2 มีแพทย์อนุมัติบัตรหรือได้รับการอบรมจิตเวชระยะสั้น (ด่านซ้าย วังสะพุง เชียงคาน เอราวัณ ผาขาว นาด้วง) 1.2 พยาบาล - อบรมเฉพาะทางจิตเวช(PG) - อบรมพยาบาลเฉพาะทางจิตเวชเด็กและวัยรุ่น รพ.ระดับ S, M1 –M2 (ปี 57=100% เลย/วังสะพุง) - อบรมหลักสูตรการพยาบาลจิตเวชเด็กและวัยรุ่น ระยะสั้น (3-5 วัน) รพ.ทุกแห่ง 1.3 เภสัชกร - เภสัชกรทุก รพ.ได้อบรมให้มี ความรู้เกี่ยวกับยาจิตเวช เภสัชกรจิตเวช (รพ.ระดับM2 ด่านซ้าย วังสะพุง)
สาขาภาพจิตและจิตเวช(ต่อ) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 2. สถานที่/เครื่องมือ/อุปกรณ์ 2.1 มีคลินิกสุขภาพจิต/จิตเวชแยก เป็นสัดส่วน (รพ.เลย ) 2.2 มีคลินิกสุขภาพจิต/จิตเวชใน รพช. แยกเป็นสัดส่วน (ปี 56 ด่านซ้าย ภูเรือ ภูกระดึง ภูหลวง เชียงคาน เอราวัณ ท่าลี่)
(แต่ละระดับสถานบริการ) สาขาตาและไต เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) ตา 1. ระยะเวลารอคอย cataract (10/200) < 30 วัน 2. ระยะเวลารอคอย cataract Low Vision (20/70)< 90 วัน ไต 1. มี CKD clinic ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไป และพัฒนาดีขึ้น ตามลำดับ 2. คิวบริการ HD CAPD มี บริการอย่างไม่มีคิว ใน 3 ปี 1. ขีดความสามารถระบบบริการ - การคัดกรองจอประสาทตาผู้ป่วยเบาหวานเชิงรุก - การคัดกรองต้อกระจกเชิงรุกประชากรอายุ > 60 ปีขึ้นไป 2. สร้างเครือข่ายการคัดกรองที่เข้มแข็ง 3. การจัดบริการผ่าตัดเชิงรุก 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถคัดกรอง VA ครอบคลุมทุกโรงพยาบาล 1. สถานที่/เครื่องมือ/เวชภัณฑ์ - mobile clinic ใน รพ.ระดับ M2-F3 2. จัดหาและพัฒนาบุคลากร - พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถคัดกรอง VA ครอบคลุมทุกโรงพยาบาล
5 สาขาหลัก (สูติ ศัลย์ อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ออร์โธปิดิกส์) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. มีการกระจายการผ่าตัด ผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ จาก รพ. ระดับ S ไปยัง รพช. เครือข่าย > 50 % ใน 2 ปี 2. ลดอัตรามารตาย ไม่เกิน 20/แสนการเกิดมีชีพ ภายใน 5 ปี 3. CMI รายแผนกมีระบบการ จัดการตามเป้าหมาย เพื่อ กระจายผู้ป่วยที่ไม่มีความ จำเป็นหรือส่งกลับไปรักษา รพ.เป้าหมาย 1. ระบบส่งต่อ 2. Blood Bank 3. การใช้ยาที่จำเป็น 4. การส่งกลับไปยังรพ.ระดับรองกว่า 1. สูติกรรม - รพ.ลูกข่ายมีศักยภาพด้าน blood bank (รพช. M1-F2) - รพ.เครือข่ายมีศักยภาพในการดูแล Neonatal jaundice (รพช. M1-M2) - รพ.แม่ข่ายมีศักยภาพผ่าตัด/ผ่าตัดทำหมันเปียกได้ 2. ศัลยกรรม - พัฒนา รพ.ลูกข่ายให้มีศักยภาพ ทำการผ่าตัดไส้ติ่งได้(วังสะพุง เชียงคาน) - พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วย เช่น การสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์/การพัฒนาระบบการให้คำปรึกษาที่มีระสิทธิภาพ (ทุก รพ.) - พัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพ
5 สาขาหลัก (สูติ ศัลย์ อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ออร์โธปิดิกส์) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. การวินิจฉัยผู้ป่วยได้ถูกต้อง ทันเวลา ผ่าตัดรวดเร็ว ทันเวลาและไม่มีความเสี่ยงต่อ ผู้ป่วย - มีการผ่าตัดไส้ติ่งใน รพช. แม่ข่าย 1. ระบบส่งต่อ 2. Blood Bank 3. การใช้ยาที่จำเป็น 4. การส่งกลับไปยังรพ.ระดับรองกว่า 2. ศัลยกรรม (ต่อ) - สนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ์ ความรู้ และบุคลากร - มีการ Training ให้แพทย์ในด้านการทำหัตถการ - ทีมแพทย์/พยาบาลระดับจังหวัดออกเยี่ยมให้คำแนะนำแก่ รพ.ลูกข่าย/rotate OPD 3. อายุรกรรม - เพิ่มศักยภาพของแพทย์ใน รพ.ลูกข่ายในการตรวจและดูแลรักษาผู้ป่วยโรค septic shock - พัฒนาระบบส่งต่อ - จัดให้มีระบบ fast track ทั้งใน รพศ. รพท. - มีการจัดประชุมเพื่อจัดทำ guide line ที่ชัดเจน - จัดการประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับ CPG
5 สาขาหลัก (สูติ ศัลย์ อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ออร์โธปิดิกส์) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. การวินิจฉัยผู้ป่วยได้ถูกต้อง ทันเวลา ผ่าตัดรวดเร็ว ทันเวลาและไม่มีความเสี่ยงต่อ ผู้ป่วย - มีการผ่าตัดไส้ติ่งใน รพช. แม่ข่าย 1. ระบบส่งต่อ 2. Blood Bank 3. การใช้ยาที่จำเป็น 4. การส่งกลับไปยังรพ.ระดับรองกว่า 5. Ortho - พัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลและการสื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย - พัฒนาการสื่อสารระหว่าง รพ.สต.และ รพช. รพ.จังหวัด ซึ่งแต่ละ รพ.ศักยภาพไม่เท่ากัน เรื่องระบบ X-ray ที่ต่างกัน - ดำเนินการใช้ระบบ refer link system
5 สาขาหลัก (สูติ ศัลย์ อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ออร์โธปิดิกส์) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. การวินิจฉัยผู้ป่วยได้ถูกต้อง ทันเวลา ผ่าตัดรวดเร็ว ทันเวลาและไม่มีความเสี่ยงต่อ ผู้ป่วย - มีการผ่าตัดไส้ติ่งใน รพช. แม่ข่าย 1. ระบบส่งต่อ 2. Blood Bank 3. การใช้ยาที่จำเป็น 4. การส่งกลับไปยังรพ.ระดับรองกว่า 4. กุมารเวชกรรม - เพิ่มศักยภาพของแพทย์ใน รพ.ลูกข่ายในการตรวจและดูแลรักษาผู้ป่วยโรค septic shock - พัฒนาระบบส่งต่อ - จัดให้มีระบบ fast track ทั้งใน รพศ. รพท. - มีการจัดประชุมเพื่อจัดทำ guide line ที่ชัดเจน - จัดการประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับ CPG
สาขาโรคไม่ติดต่อ(เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. ครอบคลุมกลุ่มอายุ 15 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 90 2. กลุ่ม Pre DM/HT ได้รับ การปรับพฤติกรรม(3 อ 2 ส และลดปัจจัยเสี่ยง) ไม่น้อย กว่า ร้อยละ 50 3. กลุ่ม Pre DM/HT เปลี่ยนเป็นผู้ป่วยรายใหม่ น้อยกว่า ร้อยละ 5 และ 10 4. พัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/ มะเร็ง/หัวใจ/หลอดเลือดสมอง) 1. การคัดกรองและการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. สถานบริการทุกระดับคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตตามเกณฑ์มาตรฐานให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย 15 ปีขึ้นไป เพื่อได้รับการปรึกษาดูแลตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรค 1. มีคลินิกบริการแบบโรค เรื้อรัง(Chronic care model) 2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ สำคัญ เพื่อเฝ้าระวังภาวะ แทรกซ้อน เช่น HbA1C Microalbuminuria BUN Cr และคำนวณค่า GFR Lipid profile 2. การควบคุมโรคและ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนการ ใช้ยาและการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ 1. สถานบริการทุกระดับจัดบริการคลินิกบริการแบบโรคเรื้อรัง(Chronic care model) 2. รพ.ทุกแห่ง มีการจัดตั้งคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3. พัฒนาศูนย์การเรียนรู้สร้างสุขภาพดี วิถีชีวิตไทย ตำบลละ 1 แห่ง
สาขาโรคไม่ติดต่อ(เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) เป้าหมาย Main Activity ที่สำคัญ กิจกรรมดำเนินการ (แต่ละระดับสถานบริการ) 1. มี NCD data ทุกระดับ 3. จัดทำ NCD data center ระดับตำบล อำเภอ ระดับ จังหวัด และเขต 1. สถานบริการทุกระดับ(รพ.ทุกแห่ง ศสม./รพ.สต.ทุกแห่ง) - ต้องบันทึกข้อมูลและตรวจสอบคุณภาพข้อมูล (ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา) - วิเคราะห์และใช้ข้อมูล (คืนข้อมูลให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) - ติตามกำกับด้วยฐานข้อมูลเดียวกันในเขต(21 แฟ้ม) 1. เจ้าหน้าที่ทุกระดับมีความรู้ ทักษะในการดูแลผู้ป่วย DM/HT 4. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในงาน NCD 1. ผู้รับผิดชอบ NCD ได้รับการอบรม Case manager หลักสูตร 5 วัน 100% - รพท./รพช 3-5 คน/แห่ง - ศสม./รพ.สต. แห่งละ 1 คน
สถานการณ์การดำเนินงาน อยู่ระหว่างจัดทำแผน พัฒนาระบบบริการระดับจังหวัด ปี 2556-2559
กลไกการบริหารจัดการเครือข่าย คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายระดับจังหวัด นพ.สสจ. ประธาน ผอ.รพ. เลย รองประธาน ผอ.รพร.รพช. กรรมการ สสอ. กรรมการ ผู้แทน รพ.สต. กรรมการ หัวหน้ากลุ่มงาน/งาน สสจ. รพ.เลย กรรมการ ประธาน 10 สาขา กรรมการ
คณะกรรมการ 10 สาขา ผู้เชี่ยวชาญสาขา ประธาน ผู้รับผิดชอบงาน รพ.เลย /สสจ.เลย กรรมการ ผู้แทน รพช./สาธารณสุขอำเภอ./รพ.สต. กรรมการ ผู้ประสานงาน กลุ่มงานยุทธศาสตร์ สสจ./รพ.เลย เลขานุการคณะกรรมการ 10 สาขา
แนวทางการดำเนินงานระดับอำเภอ 1. วิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ตาม เป้าหมาย ตัวชี้วัด - ระยะ 1 ปี , 1-2 ปี - ระยะ 3-5 ปี ที่เป็น KPI สำคัญ - ปัญหาสำคัญของจังหวัด/อำเภอ 2. วิเคราะห์ Service Plan และยุทธศาสตร์ เน้นหนักของเขต 3. ทบทวน/เพิ่มเติมแผนพัฒนาสาธารณสุข ประจำปีให้ครอบคลุมประเด็นส่วนขาด
การประเมินผล 1. แผน พบส. 2. ระดับความสำเร็จการดำเนินงาน 4 ระดับ 3. การตรวจนิเทศงาน 4. ผู้บริหารตรวจเยี่ยม
Thank You!