หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ประเด็นนำเสนอ รายละเอียดพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะของบุคลากรกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2557 (ที่ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของหน่วยงานในการประชุมเมื่อวันที่
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
สมรรถนะและการประเมินสมรรถนะ สำหรับการบริหารผลการปฏิบัติราชการ
การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
กรมควบคุมโรค 8 มีนาคม 2554.
แผนแม่บทการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ทางอิเล็กทรอนิกส์ของ สป.
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557

ประเด็นนำเสนอ การจัดทำตัวชี้วัดการประเมินผลปีงบประมาณ 2557 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการข้าราชการและพนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557

การจัดทำตัวชี้วัดการประเมินผล ปีงบประมาณ 2557 การพิจารณาสมรรถนะให้เป็นเรื่องเดียวกัน (Core value ,Core competency : Technical competency, Function competency) ปรับตัวชี้วัดให้เป็นรูปธรรม ที่ผ่านมาเป็นนามธรรม ตัวชี้วัดมีจำนวนมากแต่ละข้อความเป็นคะแนนย่อยหลายตัว ผู้ประเมินใช้เวลามากกับวิธีประเมินเดิม ส่วนใหญ่ใช้การตัดสินใจมากกว่าประเมินจากตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ ตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นใหม่ในแต่ละ Level เห็นทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ผู้ที่จะได้คะแนน4,5 ต้องมีคุณภาพที่เกิดจากมีสมรรถนะนั้นๆจริงๆ ไม่เพิ่มงาน ไม่ยุ่งยากในการวัด สามารถเก็บจากงานที่ทำอยู่ เสริมงานปกติและงานที่ตอบตัวชีวัดในยุทธศาสตร์ของกรม และที่ กพร. กำหนดให้หน่วยงานของกรมต้องพัฒนาอยู่แล้วให้มีคุณภาพมากขึ้น

การจัดทำตัวชี้วัดการประเมินผล ปีงบประมาณ 2557 (ต่อ) ถ้าระบบประเมินของกรมสามารถผ่านระบบ online บางตัวต้องปรับตัวชี้วัด และพัฒนาตัวชี้วัดจากการวัดความรู้ ในการจัดทำ e-learning หรือวัดความพึงพอใจอย่างเป็นระบบจึงจะเหมาะสม ตัวชี้วัดแต่ละสมรรถนะเชื่อมโยงส่งผลต่อกัน แม้ตัวชี้วัดเหล่านี้ไปผูกกับคะแนนรวมของการเลื่อนขั้นเงินเดือนแต่เป็น% ที่น้อย แต่สามารถแยกผู้ดีเด่น ได้อย่างชัด

หลักเกณฑ์และวิธีประเมินของกรมควบคุมโรค แบ่งออกเป็น 2 ประเภท หลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ข้าราชการ หลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการของ พนักงานราชการ

สาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีประเมินฯ รอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ วิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการ องค์ประกอบและสัดสวนน้ำหนักคะแนน มาตรวัดสมรรถนะ แบบฟอร์มการประเมิน รายละเอียดสมรรถนะ และตัวชี้วัด

รอบประเมินผลการปฏิบัติราชการ รอบที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2556 ถึง 31 มีนาคม 2557 รอบที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2557 ถึง 30 กันยายน 2557

ผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ อธิบดี รองอธิบดี ผู้อำนวยการ รองอธิบดี ผู้ทรงคุณวุฒิ หัวหน้าหน่วยงานที่ขึ้นตรงฯ ผู้อำนวยการที่อยู่ในความรับผิดชอบ ข้าราชการและพนักงานราชการที่อยู่ในบังคับบัญชา ข้าราชการจากหน่วยงานอื่นภายในกรมเดียวกันที่มาปฏิบัติราชการอยู่ด้วย * อาจจัดทำหนังสือมอบหมายผู้บังคับบัญชาอื่นๆ ให้ประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการที่อยู่ในบังคับบัญชา

วิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการ วิธีประเมินให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารงานบุคคลหน่วยงาน และต้องเป็นวิธีเดียวกันทั้งหน่วยงาน โดยอย่างน้อยให้ผู้รับการประเมินประเมินตนเองก่อน แล้วจึงสรุปผลการประเมินร่วมกับผู้ประเมิน

องค์ประกอบและสัดส่วนน้ำหนักคะแนน ผลสัมฤทธิ์ ของงาน 80 คะแนน สมรรถนะ 20 คะแนน *กรณีอยู่ระหว่างทดลองราชการ : 1. ผลสัมฤทธิ์ของงาน = ร้อยละ 50 2. พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ = ร้อยละ 50

องค์ประกอบที่ 1 : ผลสัมฤทธิ์ของงาน งานตามยุทธศาสตร์ สัดส่วนน้ำหนักคะแนน ให้อยู่ในดุลยพินิจของหน่วยงาน หรือผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ของงาน 80 คะแนน งานตามภารกิจ งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

องค์ประกอบที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ I = 2 คะแนน S = 2 คะแนน Core competency 12 คะแนน M = 2 คะแนน A = 2 คะแนน สมรรถนะ 20 คะแนน R = 2 คะแนน T = 2 คะแนน Functional competency 8 คะแนน หลักระบาดวิทยา 1)...4 คะแนน การวิจัยและพัฒนา 2)...4 คะแนน การติดตามและประเมินผล ให้ผู้บังคับบัญชา และผู้ปฏิบัติงานตกลง เลือก ประเมิน Functional competency 2 ตัว จาก 3 ตัว

องค์ประกอบที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ(ต่อ) รายละเอียดสมรรถนะ จำนวน 9 สมรรถนะ สมรรถนะหลัก (Core competency) 1) การยึดมั่นในความถูกต้อง (Integrity : I) 2) บริการที่ดี (Service Mind : S) 3) การสั่งสมความเชี่ยวชาญ (Mastery : M) 4) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation : A) 5) การมีน้ำใจเปิดกว้างเป็นพี่เป็นน้อง(Relationship : R) 6) การทำงานเป็นทีม (Teamwork : T) สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจกรมควบคุมโรค (functional competency) 1) หลักระบาดวิทยา 2) การวิจัยและพัฒนา 3) การติดตามและประเมินผล

จัดทำพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะ คณะทำงานจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีประเมินสมรรถนะ องค์ประกอบที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ(ต่อ) สมรรถนะหลัก : มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับค่านิยมกรมควบคุมโรค อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม จัดทำพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะ คณะทำงานจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีประเมินสมรรถนะ นโยบายอธิบดีกรมควบคุมโรค Functional Competency : เป็นกรอบมาตรฐานในการประเมินและพัฒนาสมรรถนะบุคลากรกรมควบคุมโรค กำหนดเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ

มาตรวัดสมรรถนะ ตัวอย่าง : ผลการประเมินสมรรถนะหลักของผู้ถูกประเมินระดับชำนาญการ ซึ่งมีระดับที่คาดหวังอยู่ใน ระดับที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 : ประเมินสมรรถนะตามพฤติกรรมบ่งชี้ตั้งแต่ระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง (โดยประเมินพฤติกรรมตามเกณฑ์การประเมินที่กรมควบคุมโรคกำหนด) 3 0.6 5 1 1.6

มาตรวัดสมรรถนะ (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 นำผลการประเมินแต่ละระดับมารวมกัน และนำไปบันทึกในแบบ “ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติการหรือสมรรถนะ” ในช่อง “คะแนนที่ได้ (Y)” แล้วจึงนำไปคูณกับช่อง “น้ำหนัก (Z)” แล้วหารด้วย “ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง (X)” แล้วนำคะแนนที่ได้ไปใส่ในช่อง “คะแนนถ่วงน้ำหนัก (ค2)” 2 1.6

แบบฟอร์มการประเมิน แบบ ข.1 ข้าราชการทุคน แบบ พ.1 พนักงานราชการทุกคน

แบบฟอร์มการประเมิน (ต่อ) หน้า 1 = แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ หน้า 2 = การรับทราบผลการประเมิน และความคิดเห็นเพิ่มเติม หน้า 3 = แบบมอบหมายงาน หน้า 4 = แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน หน้า 5 = แบบติดตามผลการปฏิบัติงาน หน้า 6 = แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ * และเอกสารประกอบการประเมินสมรรถนะ

รายละเอียดสมรรถนะ และตัวชี้วัด พิจารณาจาก slide คำถามและข้อเสนอแนะ

Thank You!