แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
KM = Knowledge Management
กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
เป็นนโยบายต่อเนื่อง ซึ่งกำหนดให้มี การพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ ด้านกำลังพล.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
Road Map KM 2551.
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย องค์ประกอบ T-target R-result 1. กระบวนการจัดการความรู้ (Process) 3 2. การสะสม และใช้ประโยชน์จากความรู้ในงานที่เกี่ยวข้อง (Knowledge Quantity/Quality/Utilization) 4 3. การจัดระบบ IT เพื่อเอื้อต่อการจัดการความรู้ (IT support system) 4.ผลการที่เกิดกับคนและองค์กรในองค์กรอันเนื่องมาจากการจัด การความรู้(HR Quality/Capacity ในเรื่องKM)

เกณฑ์ประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2553 Self Assessment – KM เกณฑ์ประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2553 องค์ประกอบ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1.กระบวนการจัดการความรู้ (Process) ผู้บริหารแสดงเจตนารมณ์ชัดเจนที่จะส่งเสริมการจัดการความรู้ในหน่วยงานและนำการจัดการความรู้ไปใช้อย่างน้อย 2 งานในการสนับสนุนยุทธศาสตร์และหรือภารกิจของหน่วยงาน มีการประเมินตนเองตามเกณฑ์การจัดการความรู้ของกรมอนามัยเพื่อจัดทำแผนการจัดการความรู้ที่สนับสนุนยุทธศาสตร์และหรือภารกิจของกรมอนามัย มีการดำเนินงานตามแผนและมี Facilitator/note taker ที่มีความเข้าใจและมีความสามารถ มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพิจารณาตามภารกิจอย่างกว้างขวางในองค์กร สามารถดำเนินการจัดการความรู้ได้ตามแผนฯ และครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรม 2.การสะสมและใช้ประโยชน์จากความรู้ในงานที่เกี่ยวข้อง (Knowledge-Quaantity/Quality/Utilization) มีการจัดทำเอกสารและ/หรือฐานข้อมูล และเก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ และเก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ เกี่ยวกับองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ใช้สนับสนุนยุทธศาสตร์และ/หรือภารกิจของหน่วยงาน มีการเพิ่มขึ้นของขุนความรู้ (Explicit Knowledge) ที่เกิดจากการสลัดความรู้จากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร มีการเพิ่มขึ้นของความรู้ที่เกิดจากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้(Tacit Knowledge) ที่เกี่ยวข้องกับงานในภารกิจขององค์กร ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนหรือแปลง Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge จากผู้มีประสบการณ์ขององค์กร มีการปรับปรุง (Update) อยู่ตลอดเวลา เนื้อหาความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มีการสะสมไว้มีการปรับเนื้อหาให้ง่ายต่อการนำไปใช้ 3.การจัดระบบ IT ที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ (IT Support System) มีระบบ IT ที่เอื้อให้บุคลากรในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ได้ มีระบบ IT ที่เอื้อให้บุคลากรภายนอกองค์กรสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ ระบบ IT ในระดับ 1 และ 2 สามารถเพิ่มเติมเนื้อหาความรู้ได้อย่างไม่จำกัด มีระบบ IT ที่หน่วยงานจัดทำต้องใช้งานง่าย ระบบ IT ในการปรับปรุงด้านเทคนิคเพื่อสนับสนุนการจัดการความรู้ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 4.ผลที่เกิดกับองค์กรและคนในองค์กร อันเนื่องมาจากการจัดการความรู้ (HR Quality/Capacity ในเรื่อง KM) บุคลากรในองค์กรมีความรู้ความเข้าใจในการนำ KM ไปใช้ในการพัฒนางานในความรับผิดชอบ มีบุคลากรในองค์กรที่สามารถทำหน้าที่ Facilitator/Note taker ได้อย่างมีคุณภาพในทุกหน่วยงานย่อยขององค์กร มีบุคลากรในองค์กรที่สามารถประยุกต์/ใช้เทคนิค KM ไปพัฒนางานในความรับผิดชอบได้อย่างน้อย หน่วยงานละ 1 คน เหนือระดับ 3 แต่งานเพิ่มปริมาณขึ้น (เช่น บุคลากรในองค์กรมีการใช้ KM ในการทำงานในความรับผิดชอบอย่างกว้างขวางอย่างน้อย 1 ทีม ในทุกหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายที่บุคลากรในองค์กรทำงานด้วย สามารถนำเทคนิคการจัดการความรู้ไปใช้ในการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องต่อไปอีกขั้นหนึ่ง CR T CT CR T CT