อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำให้เป็นเกลียว (Roving)
Advertisements

 หลักทั่วไปในในการป้องกันและควบคุม อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน #
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
เรื่อง หน้าที่ของลูกจ้างตามกฎหมาย ความปลอดภัยสารเคมี
เรื่องถุงมือป้องกันสารเคมี
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
หลักสำคัญในการล้างมือ
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
วิชาความรู้พื้นฐานทางช่าง (นิรภัยการช่าง)
หลักความปลอดภัยในการสร้างฉาก
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
พร้อมสาธิตวิธีการสวมใส่ และถอดอุปกรณ์ป้องกันตน
การป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานพ่นเคมี
ภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการ ENGLISH FOR THE WORKPLACE
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
สวัสดีค่ะ.
ตรวจพื้นที่ 5ส. ฝั่งคลินิคประกันสังคม
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
เตาไฟฟ้า.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
เครื่องดูดฝุ่น.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องปิ้งขนมปัง.
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
จักรเย็บผ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
หม้อสุกี้ไฟฟ้า.
เครื่องม้วนผม.
ไดร์เป่าผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์จากกระดาษ
v v v v อุตสาหกรรมผลิตรองเท้า
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
อุตสาหกรรมผลิตเครื่องแต่งกายจากผ้า รีดโดยใช้เตารีดไอน้ำ
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
v v v อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
อุตสาหกรรมผลิต ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ - ไฟฟ้า
v v อุตสาหกรรมขนส่งสินค้า ผู้โดยสารทางรถยนต์
เรื่อง อันตรายของเสียง
สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจราจร
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
นางสาวนิภาพร ปัญญา รหัสนิสิต
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน
การจัดการอุบัติภัยจากสารเคมี
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
วิชา งานสีรถยนต์.
หน่วยการเรียนที่ 1 ความปลอดภัยทั่วไป.
มาตรการประหยัดพลังงาน
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
อุบัติเหตุจากการทำงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล Personal Protective Equipment (PPE)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ศิมาลักษณ์ ดิถีสวัสดิ์เวทย์ กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

(1) อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ (2) อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ( Personal Protection Devices) (1) อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ (2) อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา (3) อุปกรณ์ป้องกันระบบการได้ยิน (4) อุปกรณ์ป้องกันมือและแขน (5) อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ (6) อุปกรณ์ป้องกันเท้า (7) อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง

หลักการทั่วไปในการเลือกPPE 1. เลือกให้เหมาะสมกับลักษณะอันตราย 2. ควรได้รับการทดสอบปสภ.และรับรองมาตรฐาน (NIOSH MSHA ANSI มอก.) 3.มีขนาดพอเหมาะกับผู้ใช้ 4.มีนน.เบา สวมสบาย ง่ายต่อการใช้ บำรุงรักษา 5. มีให้เลือกหลายแบบหลายขนาด

ข้อควรคำนึงในการใช้ PPE 1.เป็นการใช้พียงชั่วคราว แก้ไขปลายเหตุ 2.ควรใช้ควบคู่กับอุปกรณ์์ป้องกันอันตรายโดยวิธีอื่น เช่น การควบคุมด้านสิ่งแวดล้อม 3.ควรมีการอบรมวิธีการใช้ การติดตามผล และบำรุงรักษา 4.ผู้สวมใส่อาจไม่คุ้นเคย อาจจะทำให้เกิดความรำคาญ 5.PPE บางชนิดเป็นปัญหาต่อการติดต่อสื่อสาร

อุปกรณ์ป้องกันศีรษะ(Head Protection Devices) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1.แบ่งตามรูปทรงของหมวก 1.1 หมวกนิรภัยที่มีขอบหมวกเต็ม 1.2 หมวกนิรภัยที่มีเฉพาะส่วนของกระบังหน้า

แบ่งตามชั้นคุณภาพของหมวกนิรภัย 1.ชั้นคุณภาพ A ป้องกันแรงดันไฟฟ้าจำกัด(ไม่เกิน 2200V) เหมาะกับงานทั่วไป มักทำด้วย พลาสติก หรือไฟเบอร์กลาส 2. ชั้นคุณภาพ B ป้องกันแรงดันไฟฟ้าสูง ใช้กับงานช่างไฟฟ้าสายส่ง 3. ชั้นคุณภาพ C ไม่สามารถใช้กับแรงดันไฟฟ้าได้ วัสดุที่ทำเป้นโลหะ ต้านแรงเจาะและกระแทกได้ดี 4. ชั้นคุณภาพ D ป้องกันอัคคีภัยและแรงดันไฟฟ้า ใช้กับงานผจญเพลิง

ข้อปฏิบัติในการใช้หมวกนิรภัย 1. ตรวจสอบสภาพและความเรียบร้อยของหมวกก่อนใช้งาน 2. เมื่อใช้งานแล้วควรมีการทำความสะอาดหมวกด้วยน้ำอ่น และสบู่ 3.ห้ามทาสีใหม่ 4.ไม่วางหมวกไว้กลางแดด หรือที่มีอุณหภูมิสูง

(Face and eye Protection Devices) อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา (Face and eye Protection Devices) แบ่งเป็น 5 กลุ่ม 1. แว่นตานิรภัย แบบ A ไม่มีกระบังด้านข้าง แบบ B กระบังด้านข้างเป็นรูปถ้วย ครอบด้านบนและข้าง แบบ C เป็นแว่นที่มีกระบังด้านข้างยึดติดกับขาแว่น

อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา(ต่อ) 2.แว่นครอบตา 2.1.แว่นครอบตาชนิดรูปถ้วย มีทั้งเลนส์ทึบและเลนส์ใส 2.2 แว่นครอบตาชนิดปิดคลุม 2.3.แว่นครอบสำหรับงานเชื่อม 3.กระบังป้องกันหน้า (Face sheild) 4.หน้ากากเชื่อม 5.ครอบป้องกันใบหน้า(Hood)

Eye Protection - Safety Glasses - Goggles - Face Shields

1.ชนิดปิดคลุม(Enclosure) 2.ปลั๊กอุดหู(Ear plugs) อุปกรณ์ป้องกันระบบการได้ยิน(Hearing Protection Devices) แบ่งเป็น 4 ชนิด 1.ชนิดปิดคลุม(Enclosure) 2.ปลั๊กอุดหู(Ear plugs) 3.ปลั๊กอุดหูชนิดอุดเ๖มช่องฆูด้านนอก 4.ครอบหู(Ear muffs)

1.ค่าการลดเสียง 2.ความกระชับพอดี 3.การติดต่อสื่อสาร หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกอุปกรณ์ป้องกันระบบการได้ยิน 1.ค่าการลดเสียง 2.ความกระชับพอดี 3.การติดต่อสื่อสาร

Ear Plugs Ear Muffs

หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกอุปกรณ์ป้องกันระบบการได้ยิน

การบำรุงรักษา ปลั๊กอุดหู 1.ทำความสะอาดทุกครั้งหลังใช้งาน 2.ฆ่าเชื้อโดยใช้สำลีชุบแอลกอออล์ 3.ถ้าเป็นฟองน้ำ ยาง โฟม ล้างด้วยน้ำสะอาด 4.ถ้าเป็นชนิดที่ทำด้วยสำลี ให้ใช้แล้วทิ้ง

การบำรุงรักษา ครอบหู 1.ทำความสะอาดทั่วไปโดยการปัดฝุ่น เช็ดฝุ่น 2.ควรล้างทำความสะอาดวัสดุครอบรูปถ้วย วัสดุป้องกันเสียงรั่วอาทิตย์ละครั้ง 3.วัสดุป้องกันเสียงชั้นในที่เป็นฟองน้ำให้ถอดล้างด้วยน้ำสบู่อ่อนๆ 4.เก็บในที่สะอาดปราศจากฝุ่น

 ถุงมือมิลส์ไนตริล แบ่งเป็น 4 ชนิด 1.ถุงมือป้องกันสารเคมี อุปกรณ์ป้องกันมือและแขน(Hand and arm Protection Devices) แบ่งเป็น 4 ชนิด 1.ถุงมือป้องกันสารเคมี  ถุงมือยางดิบธรรมชาติ  ถุงมือยางสังเคราะห์บิวทิล  ถุงมือยางนีโอปรีน  ถุงมือมิลส์ไนตริล

อุปกรณ์ป้องกันมือและแขน(ต่อ) 2.ถุงมือยางป้องกันความร้อน วัสดุที่ใช้ทำเป็น ฝ้ายถัก เส้นใยธรรมชาติ หนัง 3.ถุงมือป้องกันไฟฟ้า ต้องได้มาตรฐาน แบ่งเป็น 5 ชั้นคุณภาพ 4.ถุงมือป้องกันขีดข่วน ของมีคม และรังสี ทำจากผ้า ตาข่ายลวดและหนัง

อุปกรณ์ป้องกันเท้า(Foot Protection Devices) 1.รองเท้านิรภัยชนิดหัวโลหะ มีมาตรฐาน มอก. 523-2527 เหมาะสำหรับงานก่อสร้างและอุตสาหกรรมอื่นๆ 2.รองเท้าป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า มักทำจากยางธรรมชาติหรือยางสังเคราะห์ 3.รองเท้าป้องกันสารเคมี ทำจากวัสดุพวกไวนิล นีโอปรีน หรือยางสังเคราะห์ 4.รองเท้างานหล่อหลอมโลหะ

ขอบคุณค่ะ