จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส 47400907.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Rayleigh Scattering.
SUNSCREEN.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
เครื่องมือเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
863封面 ทองคำ เขียว.
Major General Environmental Problems
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
การหักเหของแสง (Refraction)
การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวพลูโต (Pluto).
พันธะเคมี.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ผู้นำเสนอข่าว นายขจรยศ ชัย สุรจินดา. 3 วันที่แล้ว โครงการสิ่งแวดล้อมของ สหประชาชาติ ( ยูเนป ) ออกรายงานฉบับ ใหม่เกี่ยวกับสถานการณ์น้ำแข็งและหิมะ ของโลก.
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส 47400907

Atmospheric Effects on Incoming Solar Radiation By Mr.Amarin Wongphan

ปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศต่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลก ขบวนการในชั้นบรรยากาศที่ช่วยลดรังสีอาทิตย์ที่ทะลุผ่านชั้นบรรยากาศมาสู่ผิวโลก โดยชั้นบรรยากาศของโลก จะมีผลทำให้ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของคลื่นแสงในด้านทิศทาง ความเข้ม ตลอดจน ความยาว และ ความถี่ช่วงคลื่น เนื่องจากชั้นบรรยากาศ ประกอบไปด้วย ฝุ่น ละออง ไอน้ำ และก๊าซต่างๆ โดยมี 3 ขบวนการดังนี้ 1) การกระเจิงของแสง ( Scattering ) 2) การดูดกลืนของแสง ( Absorbtion)           3) การสะท้อนพลังงาน ( Reflection )

ปฏิกิริยาในชั้นบรรยากาศต่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลก

การกระเจิง ( Scattering) เกิดขึ้นในขณะที่รังสีอาทิตย์ส่องผ่านชั้นบรรยากาศโดยตกกระทบกับอนุภาคเล็กๆและโมเลกุลของก๊าซต่างๆที่แพร่กระจายในทุกทิศทาง โดยการกระทบไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความยาวคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งแยกไว้ 3 ประเภท คือ 1.1. Rayleigh Scatter 1.2. Mie Scatter 1.3. Nonselective Scatter

การการดูดกลืนของแสง(Absorbtion) การดูดกลืน ทำให้เกิด การสูญเสียพลังงาน การดูดกลืนพลังงาน จะเกิดขึ้นที่ความยาวช่วงคลื่นบางช่วง โดยเฉพาะ ก๊าซ ที่มีความสามารถ ดูดกลืนเป็นพิเศษ คือ 2.1 ก๊าซออกซิเจนและโอโซน 2.2 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 2.3 ไอน้ำส่วนใหญ่กระจายตัว อยู่ ในชั้น โทรโพสเฟียร์ (Troposphere)

การสะท้อนพลังงาน ( Reflection ) เป็นขบวนการที่เกิดเมื่อรังสีอาทิตย์ที่เข้ามาสู่โลกชนกับอนุภาคของโมเลกุลในชั้นบรรยากาศแล้วทำให้รังสีอาทิตย์มีทิศทาง 180 องศา กับทิศทางรังสีที่เข้ามาทำให้สูญเสียรังสีที่เข้ามา 100 % ออกสู่อวกาศ การสะท้อนทั้งหมดเกิดที่เมฆโดยอนุภาคต่างๆของๆเหลวและเกร็ดน้ำแข็งในเมฆ การสะท้อนเกิดประมาณ 40 – 90 %

รูปภาพดังต่อไปนี้สัดส่วนการสะท้อนของรังสีอาทิตย์ที่เข้ามา ปี1987 [1]

การสะท้อนพลังงาน ( Reflection )

Referent 1. www.deqp.go.th 2. www.physicalgeography.net