EEE 271 Digital Techniques

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Advertisements

ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Boolean Algebra วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Digital Logic and Circuit Design
Combination Logic Circuit
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
Data representation (การแทนข้อมูล)
Number Representations
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
CHAPTER 1 Major Sources of Errors in Numerical Methods
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Introduction to Digital System
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
ความหมายของตัวเลขในหลักต่าง ๆ
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
DATA (in binary Digits)
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
บทที่ 3 การคำนวณทางคณิตศาสตร์ หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (ALU)
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ระบบเลขฐาน (Radix Number)
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
การแปลงเลขฐานใดๆเป็นฐานใดๆ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
CS Assembly Language Programming
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ระบบจำนวนและ การแปลงเลขฐาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

EEE 271 Digital Techniques 2/2550 A. Yaicharoen

ระบบตัวเลข (Number System) วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักระบบเลขฐานต่างๆ วิธีการแปลงฐานเลข 2/2550 A. Yaicharoen

ฐานเลข (base, radix) ฐานเลขที่ควรจะรู้จัก - ฐานสอง (binary) - ฐานแปด (octal) - ฐานสิบ (decimal) - ฐานสิบหก (hexadecimal) การแปลงฐานเลข - การแปลงเลขฐานใดๆ เป็นเลขฐานสิบ - การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานอื่นๆ - การแปลงเลขฐาน a เป็นเลขฐาน b 2/2550 A. Yaicharoen

Number Representation 1. Unsigned number representation N = an an-1 ... a1 a0. a-1 a-2 ... a-m สำหรับค่าของ N ในฐาน r ใดๆจะเท่ากับ anrn+an-1rn-1+…+a0r0+a-1r-1+…+a-mr-m และ 0 ≤ a < r ตัวอย่างเช่น ค่าของ N ในฐานสิบจะเท่ากับ an10n+an-110n-1+…+a0100+a-110-1+…+a-m10-m และ 0 ≤ a < 10 2/2550 A. Yaicharoen

Number Representation 2. Signed number representation s represents a sign bit; 0s: positive, 1s: negative 2.1 Positive numbers: 0sN 2.2 Negative numbers: 2.2.1 Sign-magnitude representation: 1sN 2/2550 A. Yaicharoen

Number Representation 2.2 Negative numbers (continued): 2.2.2 Complement representation a) Signed r’s-complement representation 1s(rn+1-N) b) Signed (r-1)’s-complement representation 1s(rn+1-r-m-N) 2/2550 A. Yaicharoen

Base Conversion Iterative method: ใช้ในการแปลงฐานสิบเป็นฐาน n ใดๆ integers: ใช้วิธีการหาร fractions: ใช้วิธีการคูณ Special method ใช้กับการแปลงเลขฐานสอง, ฐานแปด และฐานสิบหก 2/2550 A. Yaicharoen

Iterative Method 1. ส่วนของการเปลี่ยนฐานในส่วนที่เป็นจำนวนเต็ม - ใช้วิธีการหารสั้นด้วยเลขฐานเป้าหมาย - นำเศษที่ได้มาเรียงลำดับจากล่างขึ้นบนเพื่อเป็นคำตอบ 2. ส่วนของการเปลี่ยนฐานในส่วนที่เป็นเลขทศนิยม - ใช้วิธีการคูณด้วยเลขฐานเป้าหมาย - นำผลของจำนวนเต็มที่ได้จากการคูณมาเรียงลำดับ จากบนลงล่างเพื่อเป็นคำตอบ 2/2550 A. Yaicharoen

Iterative Method คำตอบคือ 30.7510 = 11110.1102 = 111102 ตัวอย่าง แปลง 30.7510 เป็นฐานสอง 30  2 = 15 เศษ 0 15  2 = 7 เศษ 1 7  2 = 3 เศษ 1 3  2 = 1 เศษ 1 1  2 = 0 เศษ 1 = 111102 0.75  0.50    คำตอบคือ 30.7510 = 11110.1102 2/2550 A. Yaicharoen

Iterative Method ส่วนของการเปลี่ยนฐานที่เป็นเลขทศนิยม กรณีที่ผลคูณไม่เป็น 0 ให้หยุดกระบวนการคูณเมื่อคำตอบมีจำนวนหลัก เท่ากับ k หลักซึ่งทำให้เกิดค่าผิดพลาดไม่เกิน ค่าผิดพลาดที่ยอมรับได้ สูตรคำนวณสำหรับหาจำนวนหลักหลังทศนิยมของ เลขฐาน r คือ r-k < error 2/2550 A. Yaicharoen

Special Method ใช้กับการแปลงเลขในกลุ่ม ฐานสอง แปด และ สิบหก ฐานสอง 4 หลัก = ฐานสิบหก 1 หลัก ฐานสอง 3 หลัก = ฐานแปด 1 หลัก ตัวอย่าง แปลง 01010111011.100102 เป็นฐานแปด และ สิบหก 01010111011.100102 = 001 010 111 011. 100 1002 = 1273.448 = 0010 1011 1011. 1001 00002 = 2BB.9016 2/2550 A. Yaicharoen

การคำนวณทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Operations) วัตถุประสงค์ของบทเรียน วิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์ในระบบเลขฐานต่างๆ การหาค่า complement ของเลขฐานสองและฐานสิบ การลบเลขโดยวิธีการบวกด้วยค่า complement 2/2550 A. Yaicharoen

Mathematical Operations การบวก การลบ การลบเลขฐานสองด้วยวิธีการบวก r’s complement (r-1)’s complement การคูณ การหาร การคูณและการหารเลขฐานสอง 2/2550 A. Yaicharoen

การบวก การบวกเลขฐานใดๆ สามารถใช้วิธีการบวกเหมือนเลขฐานสิบ แต่ต้องระวังในเรื่องของผลบวกจะต้องไม่เกินฐานของเลขนั้นๆ ตัวอย่าง หาผลลัพท์ของ 7268 + 1438 จะได้คำตอบคือ 7 2 68 + 1 4 38 1 0 7 18 2/2550 A. Yaicharoen

Complement การหา complement หา r’s complement จาก rn+1-N rn+1-r-m-N 2/2550 A. Yaicharoen

การลบด้วยวิธีบวกด้วย r’s complement พิจารณาตัวทด (carry) ที่ได้จากผลบวกตัวหน้าสุด (MSD) 3.1 ถ้าเป็น 1 ให้ตัดทิ้ง ผลที่ได้จะเป็นคำตอบในรูปจำนวนบวก 3.2 ถ้าเป็น 0 ให้ตัดทิ้ง ผลที่ได้จะเป็นจำนวนลบในรูป r’s complement 2/2550 A. Yaicharoen

การใช้ r’s complement ตัวอย่าง: หาคำตอบของ 4010 - 3210 โดยใช้วิธีการบวกด้วย 2’s complement วิธีทำ: หารูปฐานสองของ 4010 และ 3210 4010 = 1010002, 3210 = 1000002; รูป 2’s complement ของ -3210 คือ 1000002 1010002 + 1000002 = 1 0010002 carry = 1  คำตอบเป็นบวก เท่ากับ 810 2/2550 A. Yaicharoen

การใช้ r’s complement ตัวอย่าง: หาคำตอบของ 3210 - 4010 โดยใช้วิธีการบวกด้วย 2’s complement วิธีทำ: หารูปฐานสองของ 3210 และ 4010 3210 = 1000002, 4010 = 1010002; รูป 2’s complement ของ 4010 คือ 0110002 1000002 + 0110002 = 0 1110002 carry = 0 คำตอบเป็นลบ อยู่ในรูป 2’s complement เท่ากับ -810 (จาก 1110002  0001112 + 12  0010002 = 810) 2/2550 A. Yaicharoen

การใช้ r-1’s complement พิจารณาตัวทดที่ได้จากผลบวกตัวหน้าสุด (carry from MSD) 3.1 ถ้าเป็น 1 ให้นำมาบวกกับผลลัพท์ ผลที่ได้จะเป็นคำตอบในรูปจำนวนบวก 3.2 ถ้าเป็น 0 ให้ตัดทิ้ง ผลที่ได้จะเป็นจำนวนลบในรูป r-1’s complement 2/2550 A. Yaicharoen

การใช้ r-1’s complement วิธีทำ: หารูปฐานสองของ 4010 และ 3210 4010 = 1010002, 3210 = 1000002; รูป 1’s complement ของ -3210 คือ = 0111112 1010002 + 0111112 = 1 0001112 carry = 1; ให้นำมาบวกกับคำตอบ  ผลที่ได้จะเป็นบวก 0001112 + 12 = 0010002 ซึ่งเท่ากับ 810 2/2550 A. Yaicharoen

การใช้ r-1’s complement วิธีทำ: หารูปฐานสองของ 3210 และ 4010 3210 = 1000002, 4010 = 1010002; รูป 1’s complement ของ -4010 คือ = 0101112 1000002 + 0101112 = 0 1101112 carry = 0; คำตอบเป็นลบ อยู่ในรูป 1’s complement  จะมีค่าเท่ากับ -810 (จาก 1110002  0001112 + 12  0010002 = 810) 2/2550 A. Yaicharoen

การคูณเลขฐานสอง การคูณเลขฐานสอง: 1. ใช้วิธีการคูณแบบปกติหรือ 2. ถ้าตัวคูณอยู่ในรูป 2n ให้เลื่อนตัวตั้งไปทางซ้ายเท่ากับ n บิต (จำนวนบิตที่เป็น 0 ที่อยู่หลังเลข 1 ในตัวคูณ) แล้วเติม 0 เข้าไปแทนตำแหน่งที่ว่างข้างหลัง (least significant bit) ตัวอย่าง หาผลลัพท์ของ 01102  01002 จะเห็นว่าต้องมีการเลื่อนข้อมูล 01102 ไปทางซ้ายสองครั้ง 0110xx2 (ให้ x แทนตำแหน่งว่างที่เกิดขึ้น) แล้วเติม 0 เข้าไปแทนตำแหน่งที่ว่างจะได้คำตอบเท่ากับ 0110002 2/2550 A. Yaicharoen

การหารเลขฐานสอง การคูณเลขฐานสอง: 1. ใช้วิธีการหารแบบปกติหรือ 2. ถ้าตัวหารอยู่ในรูป 2n ให้เลื่อนตัวตั้งไปทางขวาเท่ากับ n บิต (จำนวนบิตที่เป็น 0 ที่อยู่หลังเลข 1 ในตัวคูณ) แล้วเติม 0 เข้าไปแทนตำแหน่งที่ว่างข้างหน้า (most significant bit) ตัวอย่าง หาผลลัพท์ของ 10002  01002 จะเห็นว่าต้องมีการเลื่อนข้อมูล 10002 ไปทางขวาสองครั้ง xx102 (ให้ x แทนตำแหน่งว่างที่เกิดขึ้น) แล้วเติม 0 เข้าไปแทนตำแหน่งที่ว่างจะได้คำตอบเท่ากับ 00102 2/2550 A. Yaicharoen

คำถาม กรณีตัวคูณและตัวหารไม่ได้อยู่ในรูป 2n แต่ต้องการใช้วิธีเลื่อนซ้ายหรือเลื่อนขวา จะต้องทำอย่างไร 2/2550 A. Yaicharoen