33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
สรุปวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 12
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
The General Systems Theory
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ความสำเร็จและกลไกในการบริหารงานสาธารณะ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
(Individual and Organizational)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
ความยุติธรรมทางสังคม
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
๑. อำนาจหน้าที่ของ อปท. ๒. หน่วยงานต่าง ๆ ได้ขอรับการสนับสนุน จาก อปท
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
Change Management.
แนวคิดทาง รัฐประศาสนศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ สหรัฐอเมริกา 2 รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม Elton Mayo ได้จากการศึกษาที่เรียกว่าHawthorne Study ซึ่งมีข้อสรุปของการศึกษา ดังนี้ - ปัจจัยทางสังคม - คนงานไม่ใช่มองเรื่องเงินอย่างเดียว - ความสัมพันธ์ในกลุ่ม - ผู้นำกลุ่มอย่างเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ

นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการจูงใจและความพอใจในงาน 1. Abraham A. Maslow - Hierarchy of Needs Theory 2. Frederick Herzberg - Motivator-Hygiene Theory 3. Douglas McGregor - Theory X and Theory Y 4. Chris Argyris - โครงสร้างองค์กรแบบระบบราชการ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาของคน เสนอให้มีการส่งเสริมประชาธิปไตยในองค์กร

นักวิชาการที่สนับสนุน รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ 1. การประชุมที่ Minnowbrook - Dwight Waldo: PA in Time of Turbulence - Frank Marini: Toward a New PA 2. John Rehfuss : ความเชื่อ 3 ประการ 1) การบริหารภาครัฐจำเป็นต้องยึดถือหลัก ความยุติธรรมในสังคม (social equity) 2) องค์การจะต้องให้ความสำคัญต่อประชาชน และ จะต้องให้ประชาชนประเมินผลองค์การด้วย 3) นักบริหารยุคใหม่จะต้องเป็น Proactive Administrator 3. Allen Schick : หลัก 4 ประการของรัฐประศาสนศาสตร์ 1) จะต้องศึกษาปัญหาในโลกความเป็นจริง 2) จะต้องใช้ค่านิยมช่วยเหลือผู้เสียเปรียบในสังคม 3) จะต้องสนับสนุนความยุติธรรมทางสังคมให้เกิดขึ้น 4) จะต้องสนับสนุนให้องค์การมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา เพื่อป้องกันมิให้กลุ่มใดผูกขาดอำนาจ

นักวิชาการที่ศึกษา แนวคิดนโยบายสาธารณะ 1. ตัวแบบการกำหนดนโยบายสาธารณะ - Thomas R Dye ตัวแบบผู้นำ (Elite Model) ตัวแบบกลุ่ม (Group Model) ตัวแบบสถาบัน (Institutional Model) ตัวแบบระบบ (System Model) ตัวแบบกระบวนการ (Process Model) – กำหนดปัญหา เสนอแนะทางเลือกนโยบาย เลือกนโยบาย นำนโยบายไปปฏิบัติ และประเมินผลนโยบาย ตัวแบบเหตุผล (Rational Model) ตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป (Incremental Model) 2. ตัวแบบการนำนโยบายไปปฏิบัติ 1) Van Meter & Van Horn ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติประกอบด้วย มาตรฐาน ทรัพยากร การสื่อสาร การบังคับใช้ สมรรถนะของหน่วยงาน การเมือง สภาพเศรษฐกิจและสังคม ความจริงจังของผู้ปฏิบัติ 2) Nakamura & Smallwood เห็นว่าในแต่ละขั้นตอนของนโยบายสาธารณะ จะประกอบไปด้วย สภาพแวดล้อม เวทีการแสดงออก และผู้แสดง

นักวิชาการที่ศึกษา แนวคิดทางเลือกสาธารณะ (Public Choice) Vincent Ostrom - ทฤษฎีการบริหารแบบประชาธิปไตย (Democratic Administration) - การนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองมาใช้ - การนำเอาปรัชญาการบริหารแบบประชาธิปไตย - ใช้ทฤษฎี Positive Constitutional Law ที่ให้รัฐธรรมนูญกำหนดขอบเขตและอำนาจการปกครองของผู้ปกครองประเทศ

นักวิชาการที่ศึกษาทฤษฎีระบบ 1. Simon & March - องค์กรเป็นที่รวมของระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่ผลิตปัจจัยนำออกเพื่อป้อนออกไปสู่สภาพแวดล้อม 2. Katz and Kahn - ระบบปิด ระบบเปิด 3. James D. Thompson - เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมกำหนดโครงสร้างองค์การ

นักวิชาการที่ศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ จัดตั้งกลุ่ม CAG (Comparative Administration Group) แนวการศึกษา 1) Ferrel Heady - การวิเคราะห์ระบบราชการ ภายใต้การปกครอง 2) Fred W Riggs - รูปแบบ Prismatic-Sala 3) Weberian Model - ศึกษาระบบราชการตาม แนวคิดของ Max Weber 4) Almond Powell Model ศึกษาการทำหน้าที่ของระบบ ราชการ 3 ประการ คือ หน้าที่รักษาและปรับระบบ หน้าที่ออกกฎระเบียบ แสวงหาทรัพยากรและจัดสรร ทรัพยากร และหน้าที่ในการแปรปัจจัยนำเข้าให้ออกมา เป็นปัจจัยนำออก 5) การบริหารการพัฒนา (Development Administration)