33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4 แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ สหรัฐอเมริกา 2 รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1
นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม Elton Mayo ได้จากการศึกษาที่เรียกว่าHawthorne Study ซึ่งมีข้อสรุปของการศึกษา ดังนี้ - ปัจจัยทางสังคม - คนงานไม่ใช่มองเรื่องเงินอย่างเดียว - ความสัมพันธ์ในกลุ่ม - ผู้นำกลุ่มอย่างเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ
นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการจูงใจและความพอใจในงาน 1. Abraham A. Maslow - Hierarchy of Needs Theory 2. Frederick Herzberg - Motivator-Hygiene Theory 3. Douglas McGregor - Theory X and Theory Y 4. Chris Argyris - โครงสร้างองค์กรแบบระบบราชการ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาของคน เสนอให้มีการส่งเสริมประชาธิปไตยในองค์กร
นักวิชาการที่สนับสนุน รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ 1. การประชุมที่ Minnowbrook - Dwight Waldo: PA in Time of Turbulence - Frank Marini: Toward a New PA 2. John Rehfuss : ความเชื่อ 3 ประการ 1) การบริหารภาครัฐจำเป็นต้องยึดถือหลัก ความยุติธรรมในสังคม (social equity) 2) องค์การจะต้องให้ความสำคัญต่อประชาชน และ จะต้องให้ประชาชนประเมินผลองค์การด้วย 3) นักบริหารยุคใหม่จะต้องเป็น Proactive Administrator 3. Allen Schick : หลัก 4 ประการของรัฐประศาสนศาสตร์ 1) จะต้องศึกษาปัญหาในโลกความเป็นจริง 2) จะต้องใช้ค่านิยมช่วยเหลือผู้เสียเปรียบในสังคม 3) จะต้องสนับสนุนความยุติธรรมทางสังคมให้เกิดขึ้น 4) จะต้องสนับสนุนให้องค์การมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา เพื่อป้องกันมิให้กลุ่มใดผูกขาดอำนาจ
นักวิชาการที่ศึกษา แนวคิดนโยบายสาธารณะ 1. ตัวแบบการกำหนดนโยบายสาธารณะ - Thomas R Dye ตัวแบบผู้นำ (Elite Model) ตัวแบบกลุ่ม (Group Model) ตัวแบบสถาบัน (Institutional Model) ตัวแบบระบบ (System Model) ตัวแบบกระบวนการ (Process Model) – กำหนดปัญหา เสนอแนะทางเลือกนโยบาย เลือกนโยบาย นำนโยบายไปปฏิบัติ และประเมินผลนโยบาย ตัวแบบเหตุผล (Rational Model) ตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป (Incremental Model) 2. ตัวแบบการนำนโยบายไปปฏิบัติ 1) Van Meter & Van Horn ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติประกอบด้วย มาตรฐาน ทรัพยากร การสื่อสาร การบังคับใช้ สมรรถนะของหน่วยงาน การเมือง สภาพเศรษฐกิจและสังคม ความจริงจังของผู้ปฏิบัติ 2) Nakamura & Smallwood เห็นว่าในแต่ละขั้นตอนของนโยบายสาธารณะ จะประกอบไปด้วย สภาพแวดล้อม เวทีการแสดงออก และผู้แสดง
นักวิชาการที่ศึกษา แนวคิดทางเลือกสาธารณะ (Public Choice) Vincent Ostrom - ทฤษฎีการบริหารแบบประชาธิปไตย (Democratic Administration) - การนำแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองมาใช้ - การนำเอาปรัชญาการบริหารแบบประชาธิปไตย - ใช้ทฤษฎี Positive Constitutional Law ที่ให้รัฐธรรมนูญกำหนดขอบเขตและอำนาจการปกครองของผู้ปกครองประเทศ
นักวิชาการที่ศึกษาทฤษฎีระบบ 1. Simon & March - องค์กรเป็นที่รวมของระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่ผลิตปัจจัยนำออกเพื่อป้อนออกไปสู่สภาพแวดล้อม 2. Katz and Kahn - ระบบปิด ระบบเปิด 3. James D. Thompson - เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมกำหนดโครงสร้างองค์การ
นักวิชาการที่ศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ จัดตั้งกลุ่ม CAG (Comparative Administration Group) แนวการศึกษา 1) Ferrel Heady - การวิเคราะห์ระบบราชการ ภายใต้การปกครอง 2) Fred W Riggs - รูปแบบ Prismatic-Sala 3) Weberian Model - ศึกษาระบบราชการตาม แนวคิดของ Max Weber 4) Almond Powell Model ศึกษาการทำหน้าที่ของระบบ ราชการ 3 ประการ คือ หน้าที่รักษาและปรับระบบ หน้าที่ออกกฎระเบียบ แสวงหาทรัพยากรและจัดสรร ทรัพยากร และหน้าที่ในการแปรปัจจัยนำเข้าให้ออกมา เป็นปัจจัยนำออก 5) การบริหารการพัฒนา (Development Administration)