กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ PMQA : Public Sector Management Quality Award โดย....ศราวุธ ป้อมสินทรัพย์ หัวหน้าส่วนแผน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
แนวคิดการบริหารเชิงคุณภาพ ร่างกาย องค์กร
แนวคิดการบริหารเชิงคุณภาพ ร่างกาย องค์กร
แนวคิดการบริหารเชิงคุณภาพ เครื่องมือในการดูแลและแก้ไขปัญหาทางร่างกาย การตรวจสุขภาพร่างกาย
แนวคิดการบริหารเชิงคุณภาพ เครื่องมือในการดูแลและตรวจสุขภาพองค์กร ติดตามประเมินผล PART การตรวจสุขภาพ องค์กร QA
แนวคิดการบริหารเชิงคุณภาพ แนวปฏิบัติในการดูแลร่างกายให้มีสุขภาพที่ดี การพัฒนาร่างกาย
แนวคิดการบริหารเชิงคุณภาพ การยกระดับและพัฒนาร่างกายสู่ความเป็นเลิศ การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ
แนวคิดการบริหารเชิงคุณภาพ เครื่องมือพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ?? ถ้วนเพียงพอแล้วหรือไม่ BSC การวางแผนกลยุทธ์องค์กร การพัฒนา องค์กร KM RISK Management
มารู้จักกับ PMQA E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
Quality Performance / Organizational Excellence รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award Japan Canada USA Australia EU Singapore Thailand Quality Performance / Organizational Excellence 10 10
PMQA คืออะไร... PMQA หมายถึง รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA ย่อมาจาก Public Sector Management Quality Award ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ริเริ่มพัฒนามาตรฐานและคุณภาพของการบริหารจัดการ สร้างเป็นเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ นำมาส่งเสริมให้องค์กรอเมริกันทั้งภาคธุรกิจและภาครัฐมีการประเมินตนเองและปรับปรุงระบบบริหารจัดการตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพดังกล่าว E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
รองนายรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) กล่าวว่า..... …."เมื่อสองปีเศษที่ผ่านมา รัฐได้ปฏิรูประบบราชการหัวใจสำคัญของการปฏิรูประบบราชการไม่ได้อยู่ที่การมีกระทรวง ทบวง กรม มากขึ้นหรือน้อยลง แต่อยู่ที่การให้ผู้ปฏิบัติราชการทั้งหลาย ปฏิบัติงานของตนด้วยจิตวิญญาณ ด้วยความมีสำนึกด้วยความรับผิดชอบ ด้วยความมีประสิทธิภาพ ด้วยความมีวิสัยทัศน์ ด้วยการรู้จักประเมินผล รู้จักการแข่งขัน รู้จักภาพปรับปรุง รู้จักการพัฒนา ซึ่งสปิริตทั้งหมดที่ว่านี้คือสปิริตของรางวัลคุณภาพแห่งชาตินี่เอง”..... เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2548 ในพิธีมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award) ประจำปี 2547 E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
PMQA เกี่ยวข้องอย่างไร กับส่วนราชการ TQM : Thailand Quality Award ภาคเอกชน พ.ศ. 2545 PMQA : Public Sector Management Quality Award ภาคราชการ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt
เป็นกรอบการประเมินระดับมาตรฐานสากลมาใช้ตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง PMQA เป็นกรอบการประเมินระดับมาตรฐานสากลมาใช้ตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ทำให้ผู้บริหารได้รู้ว่าหน่วยงานของตนยังมีความบกพร่องในเรื่องใด และสามารถกำหนดวิธีการปรับปรุงองค์กรที่นำไปสู่ความสำเร็จ ด้านการพัฒนาและการเติบโต ประสิทธิภาพกระบวนงานภายใน การสร้างศักยภาพและความผาสุกให้แก่บุคลากร
Baldridge Criteria for Performance Excellent Framework Organizational Profile: Environment, Relationships, and Challenges 2 Strategic Planning 5 Human Resource Focus 7 Business Results 1 Leadership 3 Customer& Market Focus 6 Process Management 4 Information, Analysis, and Knowledge Management Source: http://www.quality.nist.gov/Business_Criteria.htm 15
1 5 2 9 6 10 3 7 4 8 11 หลักคิด : 11 Core Values การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 5 2 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 6 ความคล่องตัว การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 10 3 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า 7 การเรียนรู้ของ องค์การและแต่ละบุคคล 4 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า 8 การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ 11 16 16
หลักคิด : 11 Core Values 11 8 6 10 1 4 5 7 2 3 9 Lead the organization Systems Perspective มองเชิงระบบ Agility คล่องตัว Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม 10 1 5 4 7 Focus on Future เน้นอนาคต Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Customer Driven Excellence มุ่งเน้นลูกค้า Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Org. & Personal Learning องค์กรเรียนรู้ 2 3 9 Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง Strategic Leadership Execution Excellence Organizational Learning Lead the organization Manage the organization Improve the organization 17 17
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ TQM : Framework 3 PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ความเชื่อมโยงของระบบจัดการกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Capacity Building การบริหารความเสี่ยง พัฒนาองค์กร การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) Individual Scorecard คุณภาพ แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การวิเคราะห์(Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management e-government MIS
โครงสร้างของ PMQA ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 17 หัวข้อ 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2) 20
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ 4.1 การทบทวนผลดำเนินการ 4.2 การนำผลประเมินไปเพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย และ เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 7.1 ประเมินผู้บริหาร 3ระดับชั้นบังคับบัญชา 7.2 การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร (1)1 ทิศทาง 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 เป้าประสงค์ระยะสั้น/ยาว 1.3 ค่านิยม 1.4 ผลดำเนินงานที่ คาดหวัง (1) 3 การสื่อสารทิศทางองค์กร (2)2 นโยบาย 2.1 กระจายอำนาจ 2.2 นวัตกรรม 2.3 ความคล่องตัว 2.4 การเรียนรู้ขององค์กร 2.5 การเรียนรู้ของบุคคล 2.6 การทำถูกกฏหมาย 2.7 ทำตามหลักจริยธรรม (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.1 ด้านการปฏิบัติงาน 3.2 ด้านการเงินป้องกันทุจริต 3.3 ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบ ต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9 what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ 10.1 การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ (ประเมิน) 10.2 การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ (ป้องกัน) (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ การเลือกชุมชน การเลือกกิจกรรมสนับสนุนชุมชน การมีส่วนร่วมของบุคลากร LD 1 LD 5,6 LD 4 LD 1 LD 2 LD 6 LD 3 LD 7 21
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ ก. การจัดทำ ยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ 1.1 แผน 4 ปี 1.2 แผน 1 ปี ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.2 ปัจจัยภายนอก ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์ (15)3 what ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.1ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 3.2เป้าหมายและระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์กลยุทธ์ 4.1 แผน 4 ปี 4.2 แผน 1 ปี ดูความท้าทาย ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ 5.1 วิธีการถ่ายทอด 5.2 การจัดสรรทรัพยากร 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน (18)6 แผนปฏิบัติการ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (19)7 what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 7.1 4ปี 7.2 1ปี (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 what ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ SP 4 SP 1 SP 1 SP 7 SP 2 SP 2 การปรับปรุงกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ นำผลการทบทวนการดำเนินงาน ผลจากการประเมิน SP 3 SP 6 SP 5 22
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ สนองความคาดหวัง สร้างความประทับใจ มีภาพลักษณ์ที่ดี มีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น (26)5 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ 5.1การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย สามารถติดต่อ ขอข้อมูล ขอรับบริการ ขอร้องเรียน 5.2การกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร ระบบติดตามการปฏิบัติ (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน กระบวนการจัดการ วิธีการแก้ไขที่ทันท่วงที รวบรวมและวิเคราะห์นำไปเพื่อการปรับปรุง (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้สวนเสีย 8.2การนำข้อมูลไปใช้เพื่อ สร้างความประทับใจ ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี ปรับปรุงการทำงาน (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับทันท่วงที นำไปใช้ต่อได้ (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ ให้เหมาะสม ทันสมัย (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเภท/กลุ่ม การคำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ 2.1 การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการความคาดหวัง 2.2 การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนปฏิบัติปรับปรุง (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ ให้เหมาะสม ทันสมัย CS1 CS5 CS 6 CS2 CS7 CS8 CS9 CS10 CS3 CS4 23 23
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ (41)9 การจัดการความรู้ (KM) รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ ความครอบคลุม ความถูกต้อง ความทันสมัย ความรวดเร็ว ความเชื่อมโยง ความน่าเชื่อถือ ความสามารถในการเข้าถึง ความสามารถในการตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ความปลอดภัย การรักษาความลับ (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ที่สอดคล้องเชื่อมโยง เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร 1.2การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล ให้เหมาะสม ทันสมัย 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ จากการเปลี่ยนแปลงภายใน จากการเปลี่ยนแปลงภายนอก (36)4 what ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร ทบทวนผลดำเนินงาน วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ (IT) ให้พร้อมใช้งาน ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ ปลอดภัย ให้เชื่อถือได้ ใช้งานง่าย (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ ให้เหมาะสม ทันสมัย IT 7 IT 4 IT 1 - 3 IT 5,6 IT 1 24
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (43)1 การจัดการระบบงาน 1.1 ระบบที่เป็นทางการ 1.2 ระบบไม่เป็นทางการ เพื่อเกิดความร่วมมือ เพื่อความคล่องตัว เพื่อการกระจายอำนาจ เพื่อสร้างความคิดริเริ่ม เพื่อกระตุ้นนวัตกรรม เพื่อให้ทันความต้องการอยู่เสมอ (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน (45)3 การจัดระบบสื่อสารภายในองค์กร ให้มีประสิทธิผล (51)9 การพัฒนาบุคลากร เพื่อให้ทำงานได้ตามแผนปฏิบัติการและบรรลุผล เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์กับความต้องการของ บุคลากร (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม ให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ การอบรมบุคลากรใหม่ จริยธรรม การบริหารจัดการ การพัฒนาภาวะผู้นำ ความปลอดภัยอาชีวอนามัยสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ความต้องการอื่นๆที่สำคัญ (53)11 การบริหารการฝึกอบรม 11.1การหาความต้องการการฝึกอบรม 11.2การนำความต้องการการอบรมมาพัฒนาบุคลากร 11.3การนำความรู้ในองค์กรมาพัฒนาบุคลากร (54)12 การพัฒนาบุคลากร 12.1แบบเป็นทางการ 12.2แบบไม่เป็นทางการ (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะแต่ละกลุ่มตำแหน่ง (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร 6.1 การสรรหาว่าจ้าง 6.2 การรักษาบุคลากร ด้วยการคำนึงถึงวัฒนธรรมความคิดของบุคลากรและชุมชน (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน 7.1 การเตรียมบุคลากรในตำแหน่งสำคัญ 7.2 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรม มาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม 14.1 ผลระดับบุคคล 14.2 ผลระดับองค์กร (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง เพื่อความก้าวหน้าในงาน 15.1 การช่วยเหลือองค์กร 15.2 การช่วยเหลือของหัวหน้างาน HR 3 (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย (Individual Scorecard) 4.1การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานรวมถึงการแจ้งผลเพื่อให้พัฒนาและปรับปรุงงาน 4.2การจัดระบบการยกย่องชมเชยจูงใจ เพื่อให้มีขวัญกำลังใจ เพื่อให้ทำงานมีประสิทธิผล เพื่อให้มีจิตสำนึกที่เน้นประโยชน์ของผู้รับบริการ HR 3 HR 3 HR 2 HR 4 HR 5 HR 3 25
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน ถูกสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย อุปกรณ์ให้มีความเหมาะสมในงาน การกำหนดตัวชี้วัด การมีส่วนร่วมของบุคลากร (59)17 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ ของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการ ให้ตรงความต้องการบุคลากรทุกระดับทุกประเภท (62)20 การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ แรงจูงใจของบุคลากร 20.1การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ แรงจูงใจบุคลากร ทุกระดับทุกประเภทของบุคลากร เป็นทางการ ไม่เป็นทางการ 20.2การกำหนดและใช้ตัวชี้วัดประเมินความพอใจ (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร เพื่อจัดลำดับการปรับปรุงความพอใจบรรยากาศและสภาพแวดล้อม HR 1 HR 1 HR 1 HR 1 26
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน (64)1 กระบวนการสร้างคุณค่า 1.1 การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า 1.2 what กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญ (65)2 การจัดทำข้อกำหนด 2.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (66)3 การออกแบบกระบวนการสร้างคุณค่า จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (67)4 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 4.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 4.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (68)5 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 5.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 5.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (69)6 การปรับปรุงกระบวนการ 6.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 6.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน PM1 (70)7 กระบวนการสนับสนุน 7.1 การกำหนดกระบวนการสนับสนุน 7.2 what กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญ (71)8 การจัดทำข้อกำหนด 8.1 การจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลผู้รับบริการ จากข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8.2 what ข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ (72)9 การออกแบบกระบวนการสนับสนุน จากข้อมูลทั้ง4 ประเด็น รวมถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องบูรณาการกับหน่วยงานอื่น (73)10 การนำกระบวนการไปปฏิบัติ 10.1 what ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 10.2การนำกระบวนการไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนด (74)11 การลดค่าใช้จ่ายและป้องกันข้อผิดพลาด 11.1การลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทดสอบประเมินกระบวนการ 11.2การป้องกันข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำความสูญเสีย (75)12 การปรับปรุงกระบวนการ 12.1การปรับปรุงกระบวนการให้ได้ผลดีขึ้น 12.2การเผยแพร่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับปรุง ภายในหน่วยงาน ระหว่างหน่วยงาน PM2 PM3 PM4,5 PM4,5 PM6 PM6 27
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 มิติด้านประสิทธิผล 7.2 มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติด้านการพัฒนา องค์กร ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน ผลด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดี พฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม 28
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 1 การนำองค์การ รหัส แนวทางการดำเนินการ การนำองค์การ LD1 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดทิศทางการทำงานที่ชัดเจน ครอบคลุมในเรื่องวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์หรือผลการดำเนินการที่คาดหวังขององค์การ โดยมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวสู่บุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้ ความเข้าใจ และการนำไปปฏิบัติของบุคลากร อันจะส่งผลให้การดำเนินการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) LD 2 ผู้บริหารส่วนราชการมีการเพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ(empowerment) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ภายในองค์การ โดยมีการมอบอำนาจให้กับผู้ดำรงตำแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน หรือในส่วนราชการอื่นๆ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 27) LD 3 ผู้บริหารของส่วนราชการส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือภายในองค์การ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 11) LD 4 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ และกำหนดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ สำหรับใช้ในการทบทวนผลการปฏิบัติงานและนำผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) 29 29
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 1 การนำองค์การ รหัส แนวทางการดำเนินการ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม LD 5 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของส่วนราชการ และเพื่อให้การดำเนินการบรรลุผล ส่วนราชการต้องจัดทำแนวทางปฏิบัติ มาตรการ/โครงการรองรับนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดีดังกล่าว (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 6 ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดี รวมถึง พัฒนาระบบตรวจสอบภายในให้เป็นไป ตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8 (2)) LD 7 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ(พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8(3)) 30 30
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ รหัส แนวทางการดำเนินการ การวางยุทธศาสตร์ SP1 ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน กรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึงมีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจนในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของ ส่วนราชการ บรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ(พ.ร.ฎ.GG มาตรา 9,16) SP2 ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (4 ปี และ 1 ปี) ต้องมีการนำปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่สำคัญและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ อย่างน้อยประกอบด้วย วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา กฎหมาย ระเบียบ และโครงสร้างส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8(3)) SP3 ส่วนราชการต้องมีการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของส่วนราชการ รวมทั้งต้องการวางแผนเตรียมการจัดสรรทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อรองรับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 16) 31 31
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ รหัส แนวทางการดำเนินการ การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์เพื่อนำไปปฏิบัติ SP4 ผู้บริหารมีการสื่อสารและทำความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์และการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ ไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บุคลากรได้รับรู้เข้าใจ และนำไปปฏิบัติ เพื่อให้การถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติดังกล่าวบรรลุผล (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 16) SP5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(ทุกหน่วยงาน) และระดับบุคคลอย่างน้อย 1 สำนัก/กอง รวมทั้ง มีการจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน เพื่อให้สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 12) SP6 ส่วนราชการต้องจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการได้สำเร็จ ซึ่งประกอบด้วย ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากรให้แก่แผนงานโครงการ/กิจกรรม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 20) SP7 ส่วนราชการต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อเตรียมการรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านกระบวนการ 32 32
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รหัส แนวทางการดำเนินการ ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 ส่วนราชการมีการกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามพันธกิจ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8) CS2 ส่วนราชการมีช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและเสนอรูปแบบการบริการต่าง ๆ โดยแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสารดังกล่าว (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,40) การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS3 ส่วนราชการมีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการรวบรวมข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีระบบการจัดการข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างทันท่วงที (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,39,41) CS4 ส่วนราชการได้นำข้อร้องเรียน /ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็น/ คำชมเชย ใน CS 3 มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดวิธีการและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและหรือการปฏิบัติงานให้เหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,39,41) CS5 ส่วนราชการมีการสร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 30,31,38-41) 33 33
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รหัส แนวทางการดำเนินการ การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS6 ส่วนราชการต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมผ่านกิจกรรมต่างๆอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และร่วมติดตามประเมินผลการบริหารจัดการของส่วนราชการ โดยการให้ข้อมูลข่าวสาร แก่ประชาชน (Inform) ให้โอกาสร่วมแสดงความคิดเห็น (Consult) มีการดำเนินการร่วมกัน(Collaborate) ร่วมกันติดตามตรวจสอบ (Involve) รวมทั้งให้การเสริมอำนาจ (Empower) แก่ประชาชน (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 30,31,38-41) CS7 ส่วนราชการมีการวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41-42) CS8 ส่วนราชการมีการวัดความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละกลุ่มตามที่ได้กำหนดไว้ เพื่อนำผลไปปรับปรุงการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41-42) CS9 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐาน คู่มือ แนวทางการปฏิบัติของบุคลากรในการให้บริการ ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการในแต่ละงาน โดยมีการจัดทำแผนภูมิหรือคู่มือการติดต่อราชการโดยประกาศให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจในการรับบริการ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 38,41) CS10 ส่วนราชการต้องกำหนดวิธีการติดตามคุณภาพการให้บริการเพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงการบริการให้สามารถสนองตอบความต้องการได้อย่างเหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 8,45) 34 34
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ รหัส แนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ที่ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 9 (3)) การจัดการ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ IT2 ส่วนราชการทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ที่จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 และต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพิ่มเติม อย่างน้อย 2 กระบวนการ IT3 ส่วนราชการต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ IT4 ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 39)) IT5 ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย (Warning System) เช่น การกำหนดระบบการเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การจัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น IT6 ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ IT7 ส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 11) 35 35
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล รหัส แนวทางการดำเนินการ การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร เพื่อก่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร HR 1 ส่วนราชการต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ HR 2 ส่วนราชการมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน ให้ดีขึ้น (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 47) การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ HR 3 ส่วนราชการต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 47) HR 4 ส่วนราชการต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 20) HR 5 ส่วนราชการมีแผนการสร้างความก้าวหน้าในสายงานให้แก่บุคลากร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากร 36
รหัส แนวทางการดำเนินการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ รหัส แนวทางการดำเนินการ การออกแบบกระบวนการ PM 1 ส่วนราชการต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ PM 2 ส่วนราชการต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการ ดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า PM 3 ส่วนราชการต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ สำคัญ มาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุง กระบวนอย่างต่อเนื่อง (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 20,27-29) PM 4 ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อการจัดการ กระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง การจัดการและปรับปรุงกระบวนการ PM 5 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการ สนับสนุนโดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้ บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 27,28) PM 6 ส่วนราชการต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการ ดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการ ดำเนินการ 37
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านประสิทธิผล RM 1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของแผนปฏิบัติการที่ส่วนราชการดำเนินการได้สำเร็จตามมเป้าหมาย 60 65 70 75 80 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ RM 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการให้บริการและการดำเนินงานของส่วนราชการ 85 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ RM 3 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 39) RM 4 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน (จำนวน 2 กระบวนการที่ได้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานในปี งปม. 2551 หลักฐานที่ 40) RM 5 กรณีส่วนราชการที่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน กรณีส่วนราชการไม่มีงบลงทุน - ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม 68 92 71 93 74 94 77 95 96 RM 6 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 38
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ รหัส แนวทางการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM 7 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือแผนพัฒนาบุคลากร 60 65 70 75 80 RM 8 ร้อยละของความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัยของฐานข้อมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร์อย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ RM 9 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ 90 100 RM 10 ร้อยละความสำเร็จของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การ ที่ดีอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ 39
ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20) น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ แผนที่ 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 1 2 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 6 3 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (2 แผน) 12 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 40
THANK YOU for your attention… นายศราวุธ ป้อมสินทรัพย์ หัวหน้าส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 0-868781949 044-224051