33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การบริหารจัดการท้องถิ่น
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
YOUR SUBTITLE GOES HERE
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Preparation for Democratic Citizen
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การเผยแพร่องค์ความรู้เรื่อง “รู้ทันนวัตกรรมคอร์รัปชัน”””
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานต่างๆ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทที่1 การบริหารการผลิต
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7 รัฐประศาสนศาสตร์กับ การตรวจสอบถ่วงดุล รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

Accountability (หลักภาระรับผิดชอบ) หมายถึง - ความพร้อมที่จะถูกตรวจสอบ สามารถตรวจสอบได้ ภาระรับผิดชอบ การตรวจสอบถ่วงดุล - สภาพของการถูกผูกมัด หรือข้อผูกมัดให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ต้องถูกเรียกให้ชี้แจง หรือแสดงบัญชีรายการแก่อีกบุคคลหนึ่ง - เป็นเรื่องของการควบคุมการใช้อำนาจ โดยอาศัยวิธีการวาง กฎระเบียบ หลักเกณฑ์ มาตรฐานการตัดสินใจ และขั้นตอน การปฏิบัติงาน - เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างน้อยสองฝ่ายซึ่ง มีสถานภาพไม่เท่าเทียมกัน คือฝ่ายผู้มอบหมายอำนาจหน้าที่ ของตนให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งกระทำการแทน

ความคิดเห็นของนักวิชาการต่อเรื่องหลักภาระรับผิดชอบ 1. James Fesler and Donald Kett - เชื่อมั่นอย่างสุจริตใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย สายการบังคับบัญชา และดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ไม่ละเมิดกรอบมาตรฐานของจรรยาวิชาชีพ 2. Robert D. Behn 1. สามารถตอบคำถาม อธิบาย หรือให้เหตุผลประกอบ การกระทำได้ 2. จับผิด ลงโทษ รวมถึงยับยั้งและป้องกันปัญหาการกระทำ ผิดในอนาคต 3. ขึ้นอยู่กับความคาดหวังของผู้เกี่ยวข้อง อาจมุ่งเน้นความ ซื่อสัตย์สุจริต และเสมอภาค หรือ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์

มิติมุมมองเรื่องภาระรับผิดชอบ 1. มิติเชิงวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมาย - ต้องการผูกมัดใครให้รับผิดชอบต่อเรื่องใด 2. มิติเชิงสถาบัน - ใครมีความสัมพันธ์ในเชิงภาระรับผิดชอบ ต่อใคร และความสัมพันธ์เป็นลักษณะใด

ภาระรับผิดชอบ มิติในเชิงวัตถุประสงค์ 1. มุ่งเน้นการมอบหมายและความไว้วางใจ ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ นโยบาย คำสั่ง (compliance-based accountability) - ภาระรับผิดชอบต่อการใช้อำนาจรัฐ (accountability for the use of power) เน้นการใช้อำนาจอย่างถูกต้อง เป็นธรรมและเท่าเทียม - ภาระรับผิดชอบต่อการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน (accountability for finance) เน้นการปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริต ตอบคำถามต่อรัฐสภาและ ประชาชน 2. มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน(performance-based accountability) - การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่เน้นเรื่องคุณภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าของเงิน

ภาระรับผิดชอบ: มิติเชิงสถาบัน 1. ความสัมพันธ์ของลำดับขั้นตามโครงสร้างสายการบังคับบัญชาอย่างเป็นทางการ 1.1 ภาระรับผิดชอบทางการเมือง (political accountability) - ฝ่ายบริหารต่อฝ่ายนิติบัญญัติ 1.2 ภาระรับผิดชอบทางราชการ (bureaucratic accountability) - ข้าราชการประจำต่อฝ่ายการเมือง 1.3 ภาระรับผิดชอบทางการบริหารจัดการ (managerial accountability) 1.4 ภาระรับผิดชอบทางกฎหมาย (legal accountability) - การถ่วงดุลอำนาจ 1.5 ภาระรับผิดชอบทางการบริหารปกครอง (administrative accountability) - ฝ่ายปกครองกับองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 2. ความสัมพันธ์ในบริบทของการบริหาร ปกครองประเทศแนวใหม่ 2.1 ภาระรับผิดชอบต่อสาธารณะ (public accountability) - การเปิดเผย การมีส่วนร่วมของประชาชน 2.2 ภาระรับผิดชอบต่อตลาด (market accountability) – ลดการผูกขาดของรัฐ ส่งเสริมให้มีการแข่งขันในการจัดบริการสาธารณะ (contestability) 3. ความสัมพันธ์ที่มีต่อตนเองและวิชาชีพ 3.1 การยึดมั่นค่านิยม 3.2 การยึดมั่นจรรยาบรรณวิชาชีพ 3.3 การยึดมั่นหลักศีลธรรม

ประเภทของ ระบบควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน 1. ระบบการควบคุมตนเอง - รับผิดชอบต่อตนเองและวิชาชีพ 2. ระบบการควบคุมภายใน 3. ระบบการควบคุมจากภายนอก

ระบบการควบคุมภายในของหน่วยงาน - ควบคุมทางการบัญชีและการเงิน - ควบคุมทางด้านการบริหาร การควบคุมภายในของผู้บริหารราชการแผ่นดินฝ่ายการเมือง - รัฐบาลรับผิดชอบต่อรัฐสภา - ข้าราชการประจำมีหน้าที่ปฏิบัติตามนโยบายและคำสั่งฝ่าย การเมือง

ระบบการควบคุมจากภายนอก 1. โดยสถาบันที่เป็นทางการ - สภา แต่งตั้ง สอดส่อง เร่งรัด รัฐบาล - ศาล ตรวจสอบถ่วงดุลให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติตามกฎหมาย - องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ สอบสวนข้อเท็จจริง ไต่สวน ฟ้องร้อง ตรวจสอบการใช้จ่ายเงิน 2. โดยสถาบันที่ไม่เป็นทางการ - ประชาชน ชุมชน องค์กรประชาสังคม สื่อมวลชน และ กลุ่มผลประโยชน์ ร้องเรียน ลงชื่อถอดถอน ขอให้เปิดเผยข้อมูล และร่วมปรึกษาหารือ - ระบบตลาด ปรับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่และลดขนาดภาครัฐ เปิดให้ มีการแข่งขันประมูลงาน

เครื่องมือสมัยใหม่ในการควบคุม การบริหารราชการแผ่นดิน การควบคุมตามโครงสร้าง สายการบังคับบัญชา 2. การควบคุมโดยอาศัยกลไกอื่น

การควบคุมตาม โครงสร้างสายการบังคับบัญชา 1. การทำสัญญาข้อตกลงว่าด้วยผลงาน - เน้นควบคุมก่อน (ex ante control) - มุ่งเน้นภาระรับผิดชอบต่อผลงานและต่อการปรับปรุงขีดสมรรถนะมากขึ้น ให้อิสระผู้บริหารในการใช้ดุลยพินิจมากขึ้นโดยการระบุผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการไว้ล่วงหน้า 2. การตรวจสอบและประเมินผลการบริหารราชการ - เน้นควบคุมหลัง (ex post control) - เป็นวิธีการควบคุมสมัยใหม่ ใช้ประโยชน์ในสถานการณ์ที่ แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ - การสืบสวนหาข้อเท็จจริง - ทุจริต - การประเมินผลการดำเนินงาน - ผลผลิต ผลลัพธ์ - การประเมินผลกระทบ - ทางบวก ทางลบ

การควบคุมโดยอาศัยกลไกอื่น (Albert O. Hirchman) 1. การเปิดให้มีทางเลือกออกไปใช้บริการ จากรายอื่น (Exit) 2. การแสดงความเห็นถึงความพอใจ – ไม่พอใจ ของประชาชนผู้รับบริการจากภาครัฐ (Voice)

การเลือกใช้บริการ กับการแสดงออกของประชาชน 1. ออกไปยาก – เสียงไม่ดัง (low exit-low voice) เช่น บริการด้านการแพทย์ (เปิดช่องให้ร้องเรียน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่) 2. ออกไปยาก - เสียงดัง (low exit-strong voice) เช่น ไฟฟ้า ประปา (แต่งตั้งตัวแทนประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจ) 3. ออกไปง่าย - เสียงไม่ดัง (high exit-low voice) เช่น การเคหะ สถานีอนามัย (เปิดให้มีผู้ให้บริการหลายราย contract out) 4. ออกไปง่าย - เสียงดัง (high exit-high voice) เช่น สายการบิน (เปิดให้มีการแข่งขัน การแปรสภาพกิจการของรัฐให้เป็นเอกชน)