กิจกรรมถอดสกัดความรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
กลุ่มปลาดาว.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
 การสอนแบบอภิปราย.
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
การจัดการความรู้ KM คืออะไร?
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ประเด็นที่ 2 การศึกษาในปัจจุบันช่วยเยาวชนในการแก้ปัญหาชุมชนได้ อย่างไร
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
“เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ” ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
Communities of Practice (CoP)
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
น.พ.บวร งามศิริอุดม สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 15,17
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
หลักสูตร เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ “ การเรียนรู้ที่เป็นสุข ” โครงการสัมมนาโรงเรียนทันตแพทย์ สร้างสุข คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร 4 – 6 ธันวาคม 2549.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การสร้างสรรค์บทละคร.
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การถอดบทเรียน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การสังเคราะห์ (synthesis)
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรมถอดสกัดความรู้

ภาพรวมของ Workshop ฝึก dialogue + deep listening แนะนำตัวเอง + หัวข้อเรื่องความภาคภูมิใจที่จะเล่า ( 1 นาที / คน) รอบแรก  เตรียมใจ (2 นาที) ประธาน 2 7 6 9 8 1 10 5 4 3 รอบสอง เลขาฯ Knowledge Assets บทบาทครู ชื่อ เรื่องเล่า NO. C M จดบันทึก Storytelling ความสุข/ ความภาคภูมิใจ “ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้” (5 นาที /คนทดเวลา 5 นาที ซักถาม) เน้นวิธีปฏิบัติ ปฏิบัติ The Best Practice เล่าในกลุ่มใหญ่

การเล่าเรื่อง (Story telling) เป้าหมายสำคัญ ให้ผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ ปลดปล่อยความรู้ที่ซ่อนอยู่ในส่วนลึก หัวใจ (ความเชื่อ) สมอง (ความคิด) ร่างกาย (การปฏิบัติ) ออกมาเป็นคำพูด และหน้าตาท่าทาง (เป็นการปลดปล่อย ความรู้จากการปฏิบัติ) แหล่งข้อมูล: วิจารย์ พานิช การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ

ความสุข/ ความภาคภูมิใจ “ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้” เรื่องเล่าความสำเร็จ (Storytelling) ต้องเป็นกลุ่มเล็กไม่เกิน 10 คน เพื่อให้มีความรู้สึกใกล้ชิด เป็นกันเอง ไม่เป็นทางการ สร้างความรู้สึกเป็นอิสระได้ง่าย ความรู้สึกแบบนี้เอื้อต่อการเล่าเรื่องอย่างมีพลัง ทำให้ความรู้ฝังลึก และซ่อนอยู่มิดชิดจนตัวเองก็ไม่รู้ว่าตนรู้ ถูกปลดปล่อยออกมาได้ง่ายขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นด้วยบรรยากาศ สมาชิกกลุ่มเป็น “ตัวจริง” ซึ่งหมายความว่า เป็นผู้ปฏิบัติงานเพื่อการบรรลุ “หัวปลา” ที่ตกลงกัน ด้วยตนเอง ประสบการณ์ Coaching & Mentor ความสุข/ ความภาคภูมิใจ “ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้”

เรื่องเล่าความสำเร็จ (Storytelling) ดึงความรู้ที่อยู่ในคน (tacit K) ออกมา : คนละ ~ 5 นาที มี คุณอำนวย (KF) ทำหน้าที่ดำเนินการ ประชุมและสรุปประเด็น เป็นระยะๆ มี คุณลิขิต (เลขา : Note taker ) บันทึกลงบน Flip Chart และสกัดประเด็นที่ได้จากเรื่องเล่าใน Card

คำแนะนำ พูดแบบเปิดใจ ฟังแบบตั้งใจ ฟังแบบแขวนลอย ฟังแบบตั้งใจ ฟังแบบแขวนลอย ให้โอกาสผู้อาวุโสน้อยพูดก่อน ประธานต้องสร้างบรรยากาศ เชื้อเชิญให้ผู้น้อยกล้าแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ

เทคนิคการเล่าเรื่อง เล่าเพียงประเด็นเดียว เล่าสั้นๆ เล่าตามความเป็นจริง เล่าให้เห็นตัวละคร เห็นการกระทำ เล่าแบบข้อมูลดิบ ไม่ตีความ ไม่ใส่ไข่ การเล่าความคิดโดยไม่กังวลว่าจะถูกหรือผิด เล่าให้มีชีวิตชีวา ดึงความรู้ฝังลึกจากการปฏิบัติ

Deep Listening : ตั้งใจฟังโดยไม่ตัดสิน : การจัดการความรู้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์ สู่ศักยภาพ เสรีภาพ และความสุข โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี  แนะนำตัว เปิดใจให้คนอื่นรู้จักตัวตน  ความคาดหวังครั้งนี้ (ทำไมต้องมา)

Deep Listening : tips ผู้ฟัง ฟังอย่างตั้งใจ ไม่เสนอข้อแนะนำใดๆ เช่น ทำไมไม่ทำแบบ แบบนี้ เป็นต้น แต่ซักถามในลักษณะขอข้อมูลเพิ่มได้ เก่งจัง ทำได้ไงเนี่ย ?

ประเด็นก็คือ ความชัดเจนของเป้าหมายใช่มั้ยค่ะ สร้างขุมความรู้ (Knowledge Assets) KF, NT ประสานงานกลุ่ม KP ช่วยกันจัดกลุ่มประเด็นที่เหมือน/คล้ายกัน (การ์ด) ไว้ด้วยกัน ติดบน Flip chart เพื่อจะได้ดูพร้อมๆ กัน ประเด็นก็คือ ความชัดเจนของเป้าหมายใช่มั้ยค่ะ

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (บทบาทครู C & M) การจับประเด็น ใช้ข้อความ หรือถ้อยคำ ที่สื่อถึงความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit K) หรือเป็นความรู้จากการปฏิบัติ ไม่ใช่ทฤษฎี พยายามหลีกเลี่ยง ข้อความหรือถ้อยคำที่ท่านเคยอ่านมาแล้ว หรือใช้ในงานเขียนเชิงวิชาการที่ผ่านมา ตรวจสอบ “ขุมความรู้” ของกลุ่มอีกครั้ง ว่าถ้อยคำที่ใช้นั้นสื่อถึงความรู้เชิงปฏิบัติเพียงใด

เลือกกรณีศึกษาเรื่องเล่า 1 เรื่อง The Best Practice เล่าในกลุ่มใหญ่

สังเคราะห์ขุมความรู้ เป็นแก่นความรู้ (Core Competence) รวมตัวเป็นกลุ่มใหญ่

สังเคราะห์ขุมความรู้ เป็นแก่นความรู้ (Core Competence) สังเคราะห์ขุมความรู้ เป็นแก่นความรู้ (Core Competence) แต่ละกลุ่มนำกระดาษการ์ดที่เขียนประเด็น “ขุมความรู้” มารวมกันทั้งหมด ช่วยกันพิจารณาว่า มีประเด็นใดที่ซ้ำกันบ้าง? และมีประเด็นใดบ้างที่เข้าข่ายเป็นกลุ่ม หรือ ประเภทเดียวกัน ช่วยกันจัดกลุ่มประเด็น “ขุมความรู้” ออกเป็นหมวดหมู่ ไม่น้อยเกินไป หรือไม่มากเกินไป (บันได ๕ ขั้นการเรียนรู้) สร้างถ้อยคำหรือข้อความของหมวดหมู่ประเด็นขุมความรู้ที่ต้องการสื่อถึงในลักษณะ “ความสามารถ/สมรรถนะ” ที่ทำให้งานวิจัยประสบผลสำเร็จ เป็นแก่นความรู้

ภาพรวมของ Workshop ฝึก dialogue + deep listening แนะนำตัวเอง + หัวข้อเรื่องความภาคภูมิใจที่จะเล่า ( 1 นาที / คน) รอบแรก  เตรียมใจ (2 นาที) ประธาน รอบสอง 1 2 เลขาฯ Knowledge Assets บทบาทครู ชื่อ เรื่องเล่า NO. Storytelling ความสุข/ ความภาคภูมิใจ “ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้” (5 นาที /คนทดเวลา 5 นาที ซักถาม) จดบันทึก 10 3 C M 1. 2. 3. เน้นวิธีปฏิบัติ 9 4 ปฏิบัติ 8 5 7 6 The Best Practice เล่าในกลุ่มใหญ่

ขอขอบคุณ

รวมกลุ่ม จัดเป็นหมวดหมู่ Card Technique ภาพรวมของ Workshop รอบแรก ฝึก dialogue + deep listening แนะนำตัวเอง + หัวข้อเรื่องความภาคภูมิใจที่จะเล่า ( 1 นาที / คน)  เตรียมใจ (2 นาที) ประธาน รอบสอง 1 2 เลขาฯ Knowledge Assets KSF SS ชื่อ สถาบัน NO. 10 Storytelling ความสุข/ ความภาคภูมิใจ “ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้” (5 นาที / คน ทดเวลา 5 นาที ซักถาม) 3 จดบันทึก เน้นวิธีปฏิบัติ 1. 2. 3. 9 4 ปฏิบัติ 8 5 รวมกลุ่ม จัดเป็นหมวดหมู่ Card Technique ปฏิบัติ 7 ปฏิบัติ 6 Core Competence 1 2 3 ............. 10 Success Story Mapping (Coaching & mentor) ใช้ ICT เช่น KnowledgeVolution จัดทำ Key Success Factors

Storytelling ความสุข/ ความภาคภูมิใจ “ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้” (5 นาที /คนทดเวลา 5 นาที ซักถาม)