งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา เมษายน 2550 อาราญาน่า ภูพิมาน รีสอร์ท ปากช่อง นครราชสีมา ดำเนินกระบวนการโดย สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)

2 เป้าหมาย เพื่อทำความรู้จัก การจัดการความรู้ ผ่านการทดลองทำแบบฝึกหัดเล็กๆ เรียนรู้เองจากแบบฝึกหัด เรียนรู้และทดลองใช้ เครื่องมือ KM ซึ่งเน้นกระบวนการ “Appreciative Approach” เพื่อนำไปปรับใช้ในการพัฒนาองค์กรต่อไป

3 แนวคิด “การจัดการ” ความรู้
Create/Leverage Access/Validate เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน store apply/utilize Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น 2 T เน้น 2 P Tool & Technology People & Process

4 Model “ปลาทู” KA KS KV “คุณอำนวย” “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” ส่วนหัว ส่วนตา
Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Model “ปลาทู” “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator KS KA KV “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Practitioner “คุณกิจ”

5 กระบวนการ Session 1 เรียนรู้จากกรณีศึกษา
Session 3 เรียนรู้จาก การทดลองใช้ KM – Group Working Session 4 Group Presentation Session 5 เรื่องเล่าจาก สรส. (ภาคค่ำ 26/04/50) Session 6 AAR

6 Session 1 เรียนรู้จากกรณีศึกษา
กำหนดการ บ่าย 25/04/50 Session 1 เรียนรู้จากกรณีศึกษา play ก่อน learn ดู VCD โรงพยาบาลบ้านตาก Group Working Presentation (5 กลุ่ม)

7 กำหนดการ เช้า 26/04/50 Session 2 การจัดการความรู้ : หลักการ และประสบการณ์ โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

8 Session 3 ทดลองใช้ (เครื่องมือ KM)
กำหนดการ บ่าย 26/04/50 Session 3 ทดลองใช้ (เครื่องมือ KM) Storytelling Deep listening Dialogue Sharing Platform

9 กำหนดการ บ่าย 26/04/50 Session 4 Group Presentation
นำเสนอทุกกลุ่ม กลุ่มละ 10 นาที

10 Session 5 เรียนรู้จากประสบการณ์ สรส.
กำหนดการ บ่าย 26/04/50 Session 5 เรียนรู้จากประสบการณ์ สรส. (ภาคกลางคืน)

11 Session 6 AAR และสรุปส่งท้าย
กำหนดการ เช้า 27/04/50 Session 6 AAR และสรุปส่งท้าย ประมวลแก่นความรู้จากเรื่องเล่า AAR

12 Session 1 Play ก่อน Learn แบ่งกลุ่มย่อย เรียนรู้ KM จาก VCD
ประมวลผลการเรียนรู้ – กลุ่มย่อย นำเสนอผลงานกลุ่ม

13 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน แยกกลุ่มอาจารย์ เจ้าหน้าที่
แยกกลุ่มอาจารย์ เจ้าหน้าที่ คละหน่วยงาน คนที่มาจากแผนกเดียวกัน แยกไปคนละกลุ่ม แต่ละกลุ่ม มี “คุณอำนวย” และ “คุณลิขิต” ประจำกลุ่ม

14 โจทย์ ท่านได้เรียนรู้อะไรบ้างจาก VCD?
นำไปปรับใช้ในการทำงานในคณะศึกษาศาสตร์ ได้หรือไม่ อย่างไร?

15 Session 2 ฟังการบรรยาย KM โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

16 Session 3 เรียกสมาธิก่อนทำงาน
เรียบเรียงเรื่องเล่า โดยการเขียน & เขียนปัจจัยแห่งความสำเร็จจากเรื่องเล่า แนะนำ “คุณอำนวย” “คุณลิขิต” ประจำกลุ่มย่อย เล่าเรื่อง “ความสุข” จากประสบการณ์การทำงานในคณะศึกษาศาสตร์ ม. บูรพา

17 เรียกสมาธิ โดย อ. มณฑล สรไกรกิติกูล
เรียกสมาธิ โดย อ. มณฑล สรไกรกิติกูล

18 ย้อนรำลึกเหตุการณ์ “ความสุข”
เรียบเรียงเรื่องเล่าจากประสบการณ์ เล่าเหตุการณ์ที่ท่านประทับใจ หรือ มีความสุข เขียนเรื่องเล่า 1 หน้ากระดาษ A4 เขียนปัจจัยแห่งความสำเร็จ จากเรื่องเล่าของท่านเอง สุโข ปัญญาปติลาโภ

19 เรื่องเล่า เรียบเรียงเหตุการณ์จากประสบการณ์ที่ทำงานในคณะ
เป็นเหตุการณ์ที่ท่านประทับใจ รู้สึกดีในตอนนั้น เขียนโดยใช้ภาษาง่ายๆ ตามความรู้สึกของท่าน เขียนลงกระดาษ A4 ไม่เกิน 1 หน้า และเขียน “ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความสุขใจ”

20 เล่าเรื่อง “ความสุข” ในกลุ่มย่อย
เล่าเหตุการณ์ ให้เห็นว่า “ความสุข” นั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร? เห็นตัวละครในเรื่อง เห็นอารมณ์ความรู้สึก เล่าโดยไม่ตีความ เล่าเหตุการณ์เล็กๆ ในเวลาสั้นๆ ไม่มีถูก – ไม่มีผิด

21 เล่าเรื่อง “ความสุข” ในกลุ่มย่อย
ฝึกการฟังอย่างตั้งใจ (deep listening) อย่าแสดงกริยาใดๆ ที่ทำให้การเล่าเรื่องสะดุด อย่าท้วงติงผู้เล่าว่า ทำไมไม่ทำอย่างนั้น อย่างนี้ จับประเด็น “ปัจจัยแห่งความสุข” หลีกเลี่ยงสิ่งทีรบกวนบรรยากาศในกลุ่ม เช่น เสียงโทรศัพท์, ลุกเข้า ลุกออก, แยกกลุ่มคุย ฯลฯ หลีกเลี่ยงคำพูด ที่แสดงถึงการชี้ถูก - ชี้ผิด

22 Session 4 นำเสนอ “ปัจจัยแห่งความสำเร็จ” จากเรื่องเล่า และ เล่าเรื่องที่กลุ่มประทับใจ 1 เรื่อง

23 Session 6 After Action Review
ท่านคาดหวังอะไรบ้าง จาก workshop ครั้งนี้ มีอะไรบ้างที่ได้เกินกว่าทีคาดหวัง อย่างไร? มีอะไรบ้างที่ยังไม่ได้ตามที่คาดหวังไว้ เพราะเหตุใด? กลับไปจะทำอะไร (ใหม่ๆที่ยังไม่เคยทำ) ให้กับคณะบ้าง โดยเริ่มต้นที่ตนเองอย่างไร?

24 สิ่งที่ควรทำ พูดออกมาจากใจ จากความรู้สึกส่วนตัวของท่าน
พูดออกมาจากใจ จากความรู้สึกส่วนตัวของท่าน ให้โอกาสคนที่พรรษาน้อย แสดงความรู้สึกก่อน ฝึกทดลองทักษะฟังอย่างลึก (deep listening) ฝึกการใช้ Dialogue (สุนทรียสนทนา) ถอดหมวก


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google