สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
Sulperazon.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
นาวาโทสมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T. Nurse
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
LAB # 3 Computer Programming 1
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 สำนักการคลังและสินทรัพย์
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับค่าโดยสารรถเมล์ ขสมก.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
1 การบริหารจัดการ เงินงบประมาณ และเงิน SP 2. 2 งบประมาณปี 2553 รายการจำนวนเงิน ( ล้าน บาท ) % งบบุคลากร 167, งบดำเนินงาน 8, งบลงทุน.
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
เพศจำนวน ร้อย ละ ชาย หญิง รวม
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
บทบาทของกรมการข้าวในยุคปัจจุบัน จากแนวคิดสู่แนวทางปฏิบัติ
การค้นในปริภูมิสถานะ
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สำนักวิเคราะห์งบประมาณส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก โดย นสพ.ชาติวุฒิ บุญธนาวงศ์ นสพ.นลินรัตน์ ชัยกิจไทย นสพ.ศุภวัฒน์ สุวรรณแสง

ทบทวนวรรณกรรม จากข้อมูลระบบยาของประเทศไทย (Thai Drug System) โดยคณะทำงานเพื่อศึกษาวิเคราะห์ระบบยาของประเทศไทย สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา พบว่าการบริโภคยาของคนไทย ในปี พ.ศ. 2536 มีมูลค่า 50,000 ล้านบาทในราคาขายปลีก คิดเป็นประมาณ 35% ของค่าใช้จ่ายสุขภาพ ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้วซึงมีสัดส่วนนี้อยู่ระหว่าง 10 - 20 % เท่านั้น

ทบทวนวรรณกรรม จากข้อมูลขององค์การอาหารและยา พบว่า จากข้อมูลขององค์การอาหารและยา พบว่า มูลค่าการผลิตและนำเข้ายาปฏิชีวนะมีค่าสูงขึ้นทุกปี (ตั้งแต่ พ.ศ. 2533 - 2540) โดยยาที่มีการใช้กันมากได้แก่ Penicilin ,Cephalosporin และกลุ่มยา Antifungal

คำถามหลัก ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นอย่างไร สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นอย่างไร

คำถามรอง 1. มูลค่าการจัดซื้อและพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการใช้ 1. มูลค่าการจัดซื้อและพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการใช้ ยาปฏิชีวนะในชุมชนเขตเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นอย่างไร 2. มูลค่าการจัดซื้อและจัดจำหน่ายยาปฏิชีวนะของสถานบริการสาธารณสุขในเขตเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นอย่างไร

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษามูลค่าและพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ถูกต้องของประชาชนที่ก่อให้เกิดอันตราย และเป็นปัญหาสุขภาพ 2. เพื่อศึกษาการใช้ยาปฏิชีวนะของสถานบริการสาธารณสุขในเรื่องชนิด มูลค่า การใช้ รวมทั้งมูลค่าการจัดซื้อ 3. เพื่อศึกษาแนวโน้มของสถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก

ระเบียบวิธีวิจัย แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. ศึกษาพฤติกรรมสุขภาพในรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะ เลือกกลุ่มประชากรโดยใช้ Cluster sampling technique ตามสัดส่วนของประชากร 16 ชุมชน จาก 30 ชุมชน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก จำนวน 600 คน n = 1.962*0.4*0.6 = 576.24 (0.04)2 z = ค่าตามตารางเมื่อ a = 0.05 มีค่า = 1.96

ระเบียบวิธีวิจัย 2. ศึกษามูลค่าการจัดซื้อและมูลค่าการจัดจำหน่ายยาปฏิชีวนะของสถานบริการสาธารณสุข ภาครัฐ ร.พ.พุทธชินราช พิษณุโลก , ร.พ.ค่ายสมเด็จ ฯ ภาคเอกชน ร.พ.เอกชน ,คลินิก,ร้านขายยาที่มีความสนใจเข้าร่วม การวิจัยในครั้งนี้

ระเบียบวิธีวิจัย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิย้อนหลัง ในช่วง พ.ศ. 2538 - 2542 ซึ่งประกอบด้วยมูลค่าการจัดซื้อยาปฏิชีวนะและมูลค่าต้นทุนในการใช้จ่ายยาปฏิชีวนะ ข้อมูลปฐมภูมิ ตั้งแต่ 16 - 22 ตุลาคม 2543 โดยใช้แบบเก็บข้อมูลซึ่งประกอบด้วยมูลค่าการจัดจำหน่ายยาทั้งหมดเปรียบเทียบกับมูลค่าการจัดจำหน่ายยาปฏิชีวนะ และมูลค่าการจำหน่ายยาปฏิชีวนะแยกตามมูลค่า

ผลการศึกษา 1. การใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชน 1. การใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชน 2. การใช้ยาปฏิชีวนะในสถานบริการสาธารณสุข 3. วิเคราะห์สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะ และยาทั่วไป

1. การใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชน ตอนที่ 1.1ข้อมูลทั่วไป จากการศึกษามีกลุ่มตัวอย่าง 602 คน ส่วนใหญ่เป็นหญิงคิดเป็น 61.31 % , มีอายุเฉลี่ย 43 ปี , โดยมีระดับการศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับประถมศึกษา , มีอาชีพ รับจ้าง รับราชการ แม่บ้าน ค้าขาย นักเรียน/นักศึกษา เกษตรกร เรียงตามลำดับ

ตอนที่1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยา ตอนที่1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยา

ตอนที่ 1.3 พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะ เหตุผลที่ใช้ยาปฏิชีวนะ เกิดแผลฝีหนอง และติดเชื้ออื่น ๆ 63 % ไข้หวัด (น้ำมูกเหลวใส) 23 % โรคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่โรคติดเชื้อ 14 % การได้มาซึ่งยาปฏิชีวนะ ได้รับมาจากแพทย์และเภสัชกร 79 % นำเอายาเก่าไปเทียบ , บอกชื่อยา 13 % ซื้อยาจากร้านขายของชำ 2 %

การปฏิบัติเมื่อลืมรับประทานยาปฏิชีวนะ การได้รับคำแนะนำ ได้รับ 70% ไม่ได้รับ 30% การปฏิบัติเมื่อลืมรับประทานยาปฏิชีวนะ ข้ามมื้อนั้นไปเลยและกินมื้อต่อไปตามปกติ 68 % กินทันทีเมื่อนึกได้ 26 % ข้ามมื้อนั้นไปเลย มื้อต่อไปกินเพิ่ม 2 เท่า 6 %

ระยะเวลารับประทานยาปฏิชีวนะ

การสังเกตุยาปฏิชีวนะหมดอายุ สังเกตทุกครั้ง และบางครั้ง 56 % ไม่เคยสังเกตุเลย 44 % สังเกตโดยดูจากวันหมดอายุ 42 % สังเกตสีและลักษณะยาที่เปลี่ยนไป 58 % ยาปฏิชีวนะหมดอายุ 90 % พบจากยาที่เก็บไว้เอง 10 % พบจากร้านขายยา, สถานีอนามัย

การแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเมื่อแพ้ยา การแพ้ยาปฏิชีวนะ เคยแพ้ยา 22% โดยส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรงมากนัก เช่น มีผื่นคัน ลมพิษ หน้าบวมแดง 62 % หยุดยาแล้วไปพบแพทย์ 45 % ที่ทราบชื่อยาปฏิชีวนะที่แพ้ การแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเมื่อแพ้ยา ไม่เคยแจ้งหรือแจ้งบางครั้งที่ถูกถาม 60 % แจ้งทุกครั้งแม้ไม่ถูกถาม 40 %

แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบมูลค่ายาปฏิชีวนะของภาครัฐและเอกชน