สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก โดย นสพ.ชาติวุฒิ บุญธนาวงศ์ นสพ.นลินรัตน์ ชัยกิจไทย นสพ.ศุภวัฒน์ สุวรรณแสง
ทบทวนวรรณกรรม จากข้อมูลระบบยาของประเทศไทย (Thai Drug System) โดยคณะทำงานเพื่อศึกษาวิเคราะห์ระบบยาของประเทศไทย สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา พบว่าการบริโภคยาของคนไทย ในปี พ.ศ. 2536 มีมูลค่า 50,000 ล้านบาทในราคาขายปลีก คิดเป็นประมาณ 35% ของค่าใช้จ่ายสุขภาพ ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้วซึงมีสัดส่วนนี้อยู่ระหว่าง 10 - 20 % เท่านั้น
ทบทวนวรรณกรรม จากข้อมูลขององค์การอาหารและยา พบว่า จากข้อมูลขององค์การอาหารและยา พบว่า มูลค่าการผลิตและนำเข้ายาปฏิชีวนะมีค่าสูงขึ้นทุกปี (ตั้งแต่ พ.ศ. 2533 - 2540) โดยยาที่มีการใช้กันมากได้แก่ Penicilin ,Cephalosporin และกลุ่มยา Antifungal
คำถามหลัก ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นอย่างไร สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นอย่างไร
คำถามรอง 1. มูลค่าการจัดซื้อและพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการใช้ 1. มูลค่าการจัดซื้อและพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการใช้ ยาปฏิชีวนะในชุมชนเขตเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นอย่างไร 2. มูลค่าการจัดซื้อและจัดจำหน่ายยาปฏิชีวนะของสถานบริการสาธารณสุขในเขตเทศบาลนครพิษณุโลกเป็นอย่างไร
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษามูลค่าและพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่ถูกต้องของประชาชนที่ก่อให้เกิดอันตราย และเป็นปัญหาสุขภาพ 2. เพื่อศึกษาการใช้ยาปฏิชีวนะของสถานบริการสาธารณสุขในเรื่องชนิด มูลค่า การใช้ รวมทั้งมูลค่าการจัดซื้อ 3. เพื่อศึกษาแนวโน้มของสถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก
ระเบียบวิธีวิจัย แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. ศึกษาพฤติกรรมสุขภาพในรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะ เลือกกลุ่มประชากรโดยใช้ Cluster sampling technique ตามสัดส่วนของประชากร 16 ชุมชน จาก 30 ชุมชน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก จำนวน 600 คน n = 1.962*0.4*0.6 = 576.24 (0.04)2 z = ค่าตามตารางเมื่อ a = 0.05 มีค่า = 1.96
ระเบียบวิธีวิจัย 2. ศึกษามูลค่าการจัดซื้อและมูลค่าการจัดจำหน่ายยาปฏิชีวนะของสถานบริการสาธารณสุข ภาครัฐ ร.พ.พุทธชินราช พิษณุโลก , ร.พ.ค่ายสมเด็จ ฯ ภาคเอกชน ร.พ.เอกชน ,คลินิก,ร้านขายยาที่มีความสนใจเข้าร่วม การวิจัยในครั้งนี้
ระเบียบวิธีวิจัย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิย้อนหลัง ในช่วง พ.ศ. 2538 - 2542 ซึ่งประกอบด้วยมูลค่าการจัดซื้อยาปฏิชีวนะและมูลค่าต้นทุนในการใช้จ่ายยาปฏิชีวนะ ข้อมูลปฐมภูมิ ตั้งแต่ 16 - 22 ตุลาคม 2543 โดยใช้แบบเก็บข้อมูลซึ่งประกอบด้วยมูลค่าการจัดจำหน่ายยาทั้งหมดเปรียบเทียบกับมูลค่าการจัดจำหน่ายยาปฏิชีวนะ และมูลค่าการจำหน่ายยาปฏิชีวนะแยกตามมูลค่า
ผลการศึกษา 1. การใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชน 1. การใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชน 2. การใช้ยาปฏิชีวนะในสถานบริการสาธารณสุข 3. วิเคราะห์สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะ และยาทั่วไป
1. การใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชน ตอนที่ 1.1ข้อมูลทั่วไป จากการศึกษามีกลุ่มตัวอย่าง 602 คน ส่วนใหญ่เป็นหญิงคิดเป็น 61.31 % , มีอายุเฉลี่ย 43 ปี , โดยมีระดับการศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับประถมศึกษา , มีอาชีพ รับจ้าง รับราชการ แม่บ้าน ค้าขาย นักเรียน/นักศึกษา เกษตรกร เรียงตามลำดับ
ตอนที่1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยา ตอนที่1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยา
ตอนที่ 1.3 พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะ เหตุผลที่ใช้ยาปฏิชีวนะ เกิดแผลฝีหนอง และติดเชื้ออื่น ๆ 63 % ไข้หวัด (น้ำมูกเหลวใส) 23 % โรคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่โรคติดเชื้อ 14 % การได้มาซึ่งยาปฏิชีวนะ ได้รับมาจากแพทย์และเภสัชกร 79 % นำเอายาเก่าไปเทียบ , บอกชื่อยา 13 % ซื้อยาจากร้านขายของชำ 2 %
การปฏิบัติเมื่อลืมรับประทานยาปฏิชีวนะ การได้รับคำแนะนำ ได้รับ 70% ไม่ได้รับ 30% การปฏิบัติเมื่อลืมรับประทานยาปฏิชีวนะ ข้ามมื้อนั้นไปเลยและกินมื้อต่อไปตามปกติ 68 % กินทันทีเมื่อนึกได้ 26 % ข้ามมื้อนั้นไปเลย มื้อต่อไปกินเพิ่ม 2 เท่า 6 %
ระยะเวลารับประทานยาปฏิชีวนะ
การสังเกตุยาปฏิชีวนะหมดอายุ สังเกตทุกครั้ง และบางครั้ง 56 % ไม่เคยสังเกตุเลย 44 % สังเกตโดยดูจากวันหมดอายุ 42 % สังเกตสีและลักษณะยาที่เปลี่ยนไป 58 % ยาปฏิชีวนะหมดอายุ 90 % พบจากยาที่เก็บไว้เอง 10 % พบจากร้านขายยา, สถานีอนามัย
การแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเมื่อแพ้ยา การแพ้ยาปฏิชีวนะ เคยแพ้ยา 22% โดยส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรงมากนัก เช่น มีผื่นคัน ลมพิษ หน้าบวมแดง 62 % หยุดยาแล้วไปพบแพทย์ 45 % ที่ทราบชื่อยาปฏิชีวนะที่แพ้ การแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเมื่อแพ้ยา ไม่เคยแจ้งหรือแจ้งบางครั้งที่ถูกถาม 60 % แจ้งทุกครั้งแม้ไม่ถูกถาม 40 %
แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบมูลค่ายาปฏิชีวนะของภาครัฐและเอกชน