ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อเรื่อง การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่มีผลต่อ พฤติกรรม และความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนในจังหวัดสระบุรี ผู้วีจัย ธนวรรณ นุ่มอยู่ นาย.
Advertisements

 เป้าหมายพื้นที่ ( หมู่บ้าน ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ ฯลฯ )  เป้าหมายบุคคล ( ใคร เพศ อายุ อาชีพ ฯลฯ )  เป้าหมายตัวยา ( ชนิดยา / สารเสพ ติด ปริมาณ.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
Sulperazon.
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
การอภิปราย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
กลุ่ม ๕.
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
วิธีการทางวิทยาการระบาด
พันตำรวจเอกหญิง จันทนา วิธวาศิริ
การวิเคราะห์และใช้ประโยชน์ข้อมูล
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การศึกษาความพึงพอใจของ
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ไข้เลือดออก.
รวบรวมเทคนิคและเคล็ดลับการสอบสวนโรค ประสบการณ์ภาคสนาม
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การเขียนข้อเสนอโครงการ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขาโรคมะเร็ง.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก นสพ. แดน ศรีณรงค์ นสพ. ลัดดา สามล นสพ. ละออ ชมพักตร์

ทบทวนวรรณกรรม 1. Alter Miriam J.และคณะศึกษาเรื่อง The prevalence of HCV infection in the United states , 1988 - 1994 พบความชุกของการติดเชื้อ HCV 1.8% ( 382/21,241 ) 2. สุรีย์พร ลิมป์ศุภฤกษ์ ศึกษาในกลุ่มผู้บริจาคโลหิตของ โรงพยาบาลเลิศสิน พบความชุกของการติดเชื้อ HCV 4.6% ( 13/284 )

คำถามการวิจัย คำถามหลัก : ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาค โลหิตในจังหวัดพิษณุโลกเป็นอย่างไร คำถามรอง : 1. ความชุกของการติดเชื้อ HBV และ HIV ในผู้บริจาคโลหิตใน จังหวัดพิษณุโลกเป็นอย่างไร 2. ผู้บริจาคกลุ่มใดที่มีการติดเชื้อ HCV , HBV และ HIV มากที่สุด ในรพ.พุทธ ฯ โดยจำแนกตาม เพศ ,อายุ และ พื้นที่

3. ความสัมพันธ์ของการติดเชื้อร่วมกันระหว่าง HCV กับ HIV HCV กับ HBV และ HBV กับ HIV ในผู้บริจาคโลหิตใน จังหวัดพิษณุโลกเป็นอย่างไร 4. ความชุกของการติดเชื้อ HCV , HBV และ HIV ในผู้บริจาค โลหิตจังหวัดเพชรบูรณ์ , กำแพงเพชร และอุตรดิตถ์ เป็น อย่างไร

วัสดุและวิธีการวิจัย วิธีการ :: การศึกษาเชิงพรรณนาโดยศึกษาย้อนหลังเป็นเวลา 8 เดือน ( มกราคม - สิงหาคม 2543 ) กลุ่มตัวอย่าง : :เก็บข้อมูลจากสำนักงานภาคบริการโลหิตจังหวัด พิษณุโลก โดยเลือกผู้บริจาคทั้งหมด 1. กลุ่มผู้บริจาคโลหิต จ.พิษณุโลก จำนวน 8,107 ราย แยกเป็น 2 กลุ่ม

 กลุ่มผู้บริจาคโลหิตที่ รพ.พุทธ ฯ 2,538 ราย จำแนกตาม กลุ่มอายุ , เพศ และพื้นที่  กลุ่มผู้บริจาคโลหิตที่บริจาคกับหน่วยกาชาด เคลื่อนที่ นอก รพ . พุทธ ฯ 5,569 ราย 2. กลุ่มผู้บริจาคโลหิตใน จ.เพชรบูรณ์ 7,396 ราย กำแพงเพชร 5,254 ราย และ อุตรดิตถ์ 4,856 ราย วิธีการตรวจ : HCV - Ab , HBsAg , HIV - Ab โดย ELISA การวิเคราะห์ข้อมูล : Epi info version6 ; Chi - square test

The prevalence of HCV , HBV and HIV in blood donors in BH classified by age

The prevalence of HCV , HBV and HIV in blood donors in BH classified by sex

1. ความชุกของการติดเชื้อ HCV ใน จ.พิษณุโลก คิดเป็น 1.8% สรุปและวิจารณ์ 1. ความชุกของการติดเชื้อ HCV ใน จ.พิษณุโลก คิดเป็น 1.8% 2. ความชุกของการติดเชื้อ HCV ของผู้บริจาคโลหิตใน รพ. พุทธ ฯ มากกว่าผู้บริจาคโลหิตนอก รพ. พุทธ ฯ 3. ผู้ชายมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HCV มากกว่าผู้หญิง 1.28 เท่า ( p < 0.05 , 95%CI = 1.19 - 1.39 ) 4. กลุ่มอายุที่มีการติดเชื้อ HCV น้อยที่สุด คือ 46 - 60 ปี

5. อำเภอวัดโบสถ์ พบความชุกของการติดเชื้อ HCV มากที่สุด 6. ผู้บริจาคที่ติดเชื้อ HCV มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HBV เป็น 2.2 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ติดเชื้อ HCV ( p < 0.05 , 95%CI = 1.3 - 3.7 ) 7. ไม่พบความสัมพันธ์ของการติดเชื้อร่วมกันระหว่าง HCV กับ HIV และ HBV กับ HIV 8. จ. เพชรบูรณ์มีความชุกของการติดเชื้อ HCV มากที่สุด

ข้อเสนอแนะ 1. ควรจะมีการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้บริจาคโลหิตให้ครบถ้วน เป็นระบบ เพื่อที่จะเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป เช่น  ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น ประวัติการรับเลือด ในอดีต , ประวัติการฉีดยาเสพติดเข้าเส้น ( IDU )  การบริจาคโลหิตครั้งสุดท้าย  อาชีพ, การศึกษา

2. เนื่องจากข้อมูลเพียง 8 เดือน ไม่สามารถที่จะศึกษาแนว โน้มของการติดเชื้อได้ ดังนั้น ควรศึกษาข้อมูลย้อนหลัง หลายปี เพื่อจะได้เห็นแนวโน้มที่ชัดเจนขึ้น 3. เนื่องจากกลุ่มผู้บริจาคโลหิตที่ได้ศึกษาในครั้งนี้ในแต่ละพื้น ที่มีจำนวนและการกระจายที่ไม่เท่ากัน ทำให้เป็นตัวแทน ของประชากรในพื้นที่ได้ไม่ดี ดังนั้นถ้าต้องการศึกษาเปรียบ เทียบความชุกของแต่ละพื้นที่ ควรที่จะลงไปเก็บข้อมูลใน พื้นที่นั้นโดยตรง

4. ควรมีการรณรงค์ให้ความรู้ เกี่ยวกับเชื้อ HCV กับ ประชาชน ในด้านการติดต่อ การป้องกันโรค จบบริบูรณ์