การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
VBScript.
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
BC320 Introduction to Computer Programming
Introduction to C Programming
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทที่ 2 Operator and Expression
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
PHP LANGUAGE.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
C# Operation สุพจน์ สวัตติวงศ์ Reference:
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
โปรแกรมยูทิลิตี้.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ฟังก์ชัน.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
Download PHP. C:\windows\PHP.ini cgi.force_red irect = 0 พิมพ์แทรก.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Microsoft Access 2007 นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร

การเรียกใช้งานหลังจากการเซ็ตค่า Web Server เสร็จ http://localhost http://(ชื่อเครื่อง) http://127.0.0.1/

การเขียน ASP script จะขึ้นต้นหรือเปิดด้วย tag โดยใช้เครื่องหมาย <% และลงท้ายหรือปิดด้วย %> ยกตัวอย่างการเขียน ASP script เช่นหากเราต้องการแสดงวัน-เวลาปัจจุบัน ก็จะใช้ ฟังก์ชัน now ก็จะเขียนดังนี้ วัน-เวลา ขณะนี้คือ <%=now%> วัน-เวลา ขณะนี้คือ 31/03/2547 13:47:20

การแทรกคำอธิบายใน ASP จะแทรกด้วยสัญลักษณ์ ' comment เช่น <% Dim a,b,c ' ประกาศตัวแปร a=1 ' กำหนดค่าตัวแปร a b=2 ' กำหนดค่าตัวแปร b c=3 ' กำหนดค่าตัวแปร ac %> Test2.asp

การจะเขียน ASP script สิ่งที่ต้องศึกษารูปแบบคำสั่งของภาษาอื่นเพิ่มเติม ภาษา VBScript ภาษา JScript ภาษา HTML <font size=+2 color=green>วัน-เวลา ขณะนี้คือ <%=now%></font>

HTML กับ ASP ASP HTML <html> <body>Hello<hr> 1<br> 2<br> 3<br> 4<br> 5<br> <hr>Bye </body></html> <% response.write( “<html><body>Hello<hr>" ) response.write( “1<br>”) response.write( “2<br>”) response.write( “3<br>”) response.write( “4<br>”) response.write( “5<br>”) response.write( "<hr>Bye</body></html>" ) %>

การเขียนเว็บด้วย ASP และ HTML ร่วมกัน <html> <title> Welcome to <%=request.servervariables("SERVER_NAME")%> </title> <body> Hello<hr> <% for n = 1 to 5 response.write( n & "<br>") next %> <hr>Bye </body></html> Hello ---------------------------------------------------1 2 3 4 5 ---------------------------------------------------Bye

ชนิดของตัวแปร Empty ข้อมูลชนิดว่าง คือค่าเป็น 0 Null ข้อมูลว่างๆไม่มีค่าใด ๆ เลย Boolean เป็นข้อมูลทางตรรกะ คือ True กับ False Byte จำนวนเต็ม 0-255Integerจำนวนเต็ม -32,768 ถึง 32,767 Long จำนวนเต็ม -2,483,147,483 ถึง 2,174,483,647 Double ข้อมูลที่เป็นทศนิยม Date ใช้เก็บวันและเวลา String ใช้เก็บข้อความ Object ตัวแปร Object Error ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในการอ้างถึงคอนโทรลต่าง ๆ

การประกาศตัวแปร รูปแบบ Dim <ตัวแปร> เช่น Dim name หลักการตั้งชื่อตัวแปร 1.ต้องไม่ซ้ำกันในโปรแกรมเดียวกัน 2.ไม่ตรงกันคำสงวน 3.ความยาวไม่เกิน 255 ตัวอักขระ 4.ต้องเริ่มต้นด้วย A-Z หรือ a-z

ชนิดของการประกาศตัวแปร 1.ประกาศโดยใช้ Dim ตัวอย่าง Dim name,surname 2.ประกาศโดยไม่ใช้ Dim ตัวอย่าง name="นายวีระชัย นุกิจรัมย์“ age=21

Constant ค่าคงที่ การประกาศค่าคงที่ เป็นการประกาศค่าที่จะใช้ตลอด Application Const <ชื่อค่าคงที่> = <ค่าคงที่> ตัวอย่าง Const CID= 123456789

การเปลี่ยนชนิดของข้อมูล Function Type Data Example Result CInt Integer CInt ("1000.1000 ") 1000 CLng Long CLng ("1000.1000 ") CSng Single CSng ("1000.1000 ") 1000.10 CDbl Double CDbl ("1000.1000 ") 1000.1000 CBool Boolean CBool ("1000=1000 ") True CByte Byte CByte ("1000.1000 ") CDate Date CDate ("24 December 70 ") 12/24/70 Cstr String Cstr ("1000.1000 ") "1000.1000 " ตัวอย่าง UTCC = "6923050.1121" UTCC = Cint(UTCC) Output 6923050

Operator ของ Asp Operator นั้นเป็นการกระทำบางอย่างกับข้อมูล และได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่ง Operator ของ Asp นั้นสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้

Operator ในการทำงานงานทางคณิตศาสตร์ การกระทำ สัญลักษณ์ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ การบวก + 1+2 3 การลบ - 2-1 1 การคูณ * 2*2 4 การหาร / 7/2 3.5 การหารแบบเต็มจำนวน \ 5\3 การหารแบบเอาเศษ Mod 10 Mod 3 การยกกำลัง ^ 2^4 16

Operator ในการทำงานทางตรรกะ Operator ทางตรรกะจะให้ผลลัพธ์เป็นค่า True และ False ซึ่งรายละเอียดในการแสดงผลทางตรรกะในกรณีต่างๆ มีดังนี้ Operator And A B A and B True False   สรุป ถ้าเป็นOperator And จะเป็น True กรณีเดียวคือ เมื่อทั้ง A และ B เป็น True

Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) Operator Or A B A or B True False สรุป ถ้าเป็นOperator Or จะเป็น False กรณีเดียวคือ เมื่อทั้ง A และ B เป็น False

Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) Operator Xor A B A Xor B True False สรุป ถ้าเป็นOperator Xor จะเป็น ผลที่ได้ออกมาเป็นดังนี้คือกรณีค่าของ A และ B ตรงกัน ผลจะออกมาเป็น False แต่ถ้าค่าของ A และ B ไม่ตรงกันผลออกมาจะเป็น True

Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) Operator Eqv A B A Eqv B True False สรุป ถ้าเป็นOperator Eqv จะเป็น ผลที่ได้ออกมาจะตรงกันข้ามกับ Xor คือ กรณีค่าของ A และ B ตรงกัน ผลจะออกมาเป็น True แต่ถ้าค่าของ A และ B ไม่ตรงกันผลออกมาจะเป็น False

Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) Operator Imp A B A Imp B True False สรุป Operator Imp จะมีค่าเหมือนกับคำว่า ถ้า....แล้ว ซึ่งถ้าสังเกตตาราง เราสามรถสรุปได้ว่า กรณีที่ผลลัพธ์จะเป็น False นั่นคือ เมื่อ A = True และ B = False เท่านั้น

Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) Operator Not A Not A True False สรุป Operator not จะเป็นการเปลี่ยนค่าที่มีอยู่ในเป็นตรงกันข้าม

Operator ในการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลชนิด String Operator กลุ่มนี้ เป็น Operator ที่ใช้ในการเชื่อมระหว่าง String กับ String เข้าด้วยกัน หรือ ระหว่าง String กับ Numueric ซึ่งมีดังนี้ + = ใช้เชื่อม String กับ String & = ใช้เชื่อม String กับ Numeric หรือ String ก็ได้เช่นกัน

ตัวอย่าง อีกสักตัวอย่าง "ASP" + "Chapter.com" ผลที่ได้ ASP Chapter.com X = "Hello" Y = 5 Z = "Times" W = X&Y&Z ผลลัพธ์ที่ได้ Hello 5 times

Operator ในการเปรียบเทียบ สัญลักษณ์ ความหมาย รูปแบบการใช้งาน = เท่ากับ A = B <> ไม่เท่ากับ A <> B < น้อยกว่า A < B > มากกว่า A> B <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ A<= B >= มากกว่าหรือเท่ากับ A>=B

การประกาศตัวแปร Array Dim A(5) 'ประกาศตัวแปร Array A(0),A(1),A(2),A(3),A(4),A(5) การกำหนดค่าให้กับ Array A(0)=4 A(1)=9 A(2)=5 A(3)=6 A(4)=3 A(5)=1 การประกาศตัวแปร Array หลายมิติ Dim B(2,5) 'Array 2 มิติ Dim C(2,4,8) 'Array 3 มิติ

Sample <% myarray = array("A", "B", "C", "D") %> <% =myarray(0) %> <br> <% =myarray(1) %> <br> <% =myarray(2) %> <br> <% =myarray(3) %> <br> Out Put A B C D

Sample <% myarray = array(111, 222, 333, 444, 555) %> <% =myarray(0) %> <br> <% =myarray(1) %> <br> <% =myarray(2) %> <br> <% =myarray(3) %> <br> <% =myarray(4) %> <br> Out Put 111 222 333 444 555

ตัวอย่างการใช้ Array เพื่อตรวจสอบคำหยาบ <% msg="ช้างน้ำ หมู่ป่า" ' สร้างตัวแปรที่รับข้อมูลเข้ามา badtext = array("ช้างน้ำ","หมูป่า","เก้ง","กระทิง","ไก่") ' ประกาศตัวแปร badtext เป็นอาร์เรย์ที่มีคำหยาบอยู่ภายใน b = 0 For a = 0 to Ubound(badtext) if InStr(msg , badtext(a)) <> 0 then %> 'เปรียบเทียบระหว่างตัวแปรกับข้อมูลอาร์เรย์ พบคำหยาบคำว่า "<%=badtext(a)%>"<br> %> <%Else b = b+1 End if Next if b = Ubound(badtext) + 1 then %> คุณเป็นคนน่ารักมาก ไม่มีคำหยาบเลย <%End if%>