ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำข้อมูลสินทรัพย์ถาวร (Fix Asset)
Advertisements

โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
เว็บไซต์ สาขา สารสนเทศศาสตร์
แนวทางการเลือกพื้นที่เป้าหมาย
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
Google Maps.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ดาวเทียมไทยคม.
ระบบข้อสอบออนไลน์.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
(Global Positioning System)
ท่าเรือแม่น้ำท่าจีน.
การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
ระบบการสื่อสารดาวเทียม
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
Computer Graphics Image Processing 1.
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
กล้องโทรทรรศน์.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โลกและสัณฐานของโลก.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก นำเสนอข่าวไอที ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก

ความเป็นมาของดาวเทียม “ธีออส” ประเทศไทยมีแผนส่งดาวเทียมสำรวจดวงใหม่เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูล โดยมีกำหนดปล่อยทะยานขึ้นสู่วงโคจรของโลกภายในสิ้นปีนี้ ดาวเทียมใหม่นี้ ชื่อว่า "ธีออส" "THEOS" (Thailand Earth Observation System) เป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยดวงแรก ภายใต้ความร่วมมือด้านเทคโนโลยีอวกาศระหว่างรัฐบาลไทย และรัฐบาลฝรั่งเศส โดยมอบหมายให้สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ.ดำเนินโครงการ

"ธีออส" เป็นดาวเทียมขนาดเล็ก หนัก 750 กิโลกรัม โคจรเหนือพื้นผิวโลก 822 กิโลเมตร ตัวดาวเทียม ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ 1. อุปกรณ์ถ่ายภาพ 2. ส่วนควบคุมสนับสนุนการทำงานของดาวเทียมสามารถบันทึกภาพ ขาว-ดำ รายละเอียดภาพ 2 เมตร บันทึกภาพสี รายละเอียดภาพ 15 เมตร หน้าที่หลัก คือถ่ายภาพสำรวจทรัพยากร ส่วนการนำมาประยุกต์ใช้งานขึ้นอยู่ว่าจะนำไปใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น ด้านภัยพิบัติ ภาพถ่ายจากดาวเทียมที่บันทึกก่อนเหตุการณ์จะเป็นประโยชน์ในการวางแผนป้องกันการเกิดภัยพิบัติ เช่น น้ำท่วม ดินถล่ม เพลิงไหม้ เป็นต้น

ขณะที่ภาพถ่ายหลังเกิดเหตุการณ์แล้วจะเป็นประโยชน์ต่อการประเมินความเสียหาย และการวางแผนอพยพ ประโยชน์ด้านอื่นๆ ก็เช่น การทำและปรับปรุงข้อมูลแผนที่เพื่อใช้ในการวางผังเมือง การพัฒนาสาธารณูปโภค หรือยุทธศาสตร์ทางทหาร ด้านการเกษตร เพื่อวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมด้านการเกษตร การจำแนกพื้นที่ และการประเมินความเสียหายในพื้นที่การเกษตร เป็นต้น ความต่างของดาวเทียมธีออสกับดาวเทียมดวงอื่นๆ คือธีออสเป็นดาวเทียมขนาดเล็กสามารถบิดตัวถ่ายภาพได้ทั้งซ้าย ขวา ก้ม เงยได้ จึงถ่ายในบริเวณที่มีเมฆมากได้ อีกทั้งยังถ่ายภาพในลักษณะ 3 มิติได้ ขณะที่ดวงอื่นต้องอาศัยเทคนิคที่ยุ่งยาก

การเกิดขึ้นของ "ธีออส" ทำให้ประเทศไทยมีข้อมูลภาพถ่ายที่ไม่ต้องการความละเอียดมากเป็นของตัวเองลดค่าใช้จ่ายในการซื้อข้อมูล ภาพดาวเทียมจากประเทศอื่นทั้งจากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส ซึ่งมีราคาแพง ระดับหลายแสนบาทตามแต่ความละเอียดของภาพถ่ายนั้นๆ ในอนาคต ประเทศไทยจะเปลี่ยนสถานะจากคน "ซื้อ" มาเป็นคน "ขาย" ได้โดยมีประเทศที่เตรียมซื้อข้อมูลภาพจากดาวเทียมธีออสแล้วหลายประเทศ เช่น ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น จีน และอินเดีย เป็นต้น

เงินที่ลงไปกับการพัฒนา "ธีออส" กว่า 6 พันล้านบาท ตั้งแต่ปลายปี 2548 จนถึงขณะนี้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว เหลือแต่ส่งทะยานขึ้นฟ้า ณ ฐานปล่อยจรวดส่งดาวเทียม ที่เมืองยาสนี ประเทศรัสเซีย ภายในปลายปีนี้ แหล่งที่มา หนังสือพิมพ์ ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3924 (หน้า 37)

นายธราศักดิ์ ชุนกองฮอ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ นำเสนอโดย นายธราศักดิ์ ชุนกองฮอ รหัสนิสิต 50070486 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ