แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
การจัดระเบียบสังคม Social Organization
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
ความหมาย ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรม
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
ทฤษฎี ความหมาย มีหน้าที่คือ 1.อธิบาย 2.พยากรณ์หรือทำนาย
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
ความหมายของชุมชน (Community)
บทที่ 6 ทฤษฎีโครงสร้าง – หน้าที่
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคม
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ระบบความเชื่อ.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
กระบวนการการทำงานชุมชน
การเขียนรายงานการวิจัย
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
โครงสร้างขององค์การ.
ชีวะ ม. ปลาย.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรม
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1 กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อ ยุคไอที โดย รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ อุดมศึกษาต่างประเทศ ( นางสาวพรทิพย์ กาญจนนิยต ) 7 สิงหาคม 2546 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิด ทฤษฎีและวิธีการศึกษาพื้นฐานใน วิชามานุษยวิทยา

แนวคิดพื้นฐานในการศึกษาทางมานุษยวิทยา 1) สังคมดั้งเดิม (Primitive society) Robert Redfield ให้คำจำกัดความสังคมดั้งเดิมว่าเป็น - สังคมขนาดเล็ก ความสัมพันธ์ใกล้ชิด ความรู้สึกร่วมในกลุ่มสูง - เป็นความสัมพันธ์ที่มีพื้นฐานอยู่บนระบบเครือญาติ - ระดับเทคโนโลยีต่ำ - ไม่มีภาษาเขียน - มีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตเฉพาะตัว ต่างจากกลุ่มอื่น

เผ่า Tsadays ใน เกาะมินดาเนา ฟิลิปปินส์

ครอบครัวชนพื้นเมือง Aborigines ในประเทศออสเตรเลีย

สังคมประเพณี(จารีต)นิยม (Traditional society) - ยึดติดอยู่กับขนบธรรมเนียมประเพณี อาจรับเทคโนโลยีใหม่เข้าไป มีภาษาเขียน แต่ยังเป็นสังคมขนาดเล็ก มีวิถีชีวิตคล้ายคลึงกัน มี วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ค่อนข้างเด่นชัดมีความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน

    2)  วัฒนธรรม (Culture) ได้แก่ ผลผลิตของการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เพื่อสนองตอบความต้องการดำรงชีวิตอยู่ การถือวัฒนธรรมตนเองเป็นใหญ่ (Ethnocentricism) Egocentric Ethnocentric Anthropomorphic

วัฒนธรรมสัมพัทธ์ (Cultural Relativism) - วัฒนธรรมของทุกสังคม มีเหตุผล มีความถูกต้องเหมาะสมในตัวของ มันเอง เพราะสอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของสังคมที่สร้าง วัฒนธรรมนั้นขึ้นมา ไม่มีวัฒนธรรมใดดี / เลว ถูก / ผิด - การศึกษาวัฒนธรรมของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ต้องทำความเข้าใจจาก มุมมองของคนกลุ่มนั้นเอง ไม่เอาความรู้สึกของตนเองเข้าไปตัดสิน

ความงามในสังคมต่างๆ

3) การศึกษาแบบองค์รวม (Holism) ได้แก่ การทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่ศึกษาจากทุกแง่ทุกมุม อธิบายพฤติกรรมและวัฒนธรรมจากหลายๆ ด้านประกอบกัน ไม่มองเพียงด้านเดียว

ทฤษฎีพื้นฐานในการศึกษา 1. ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory) 2. ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) 3. ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่นิยม (Structural - Functionalism)  

ทฤษฎีวิวัฒนาการ วิวัฒนาการทางสังคม (Social Darwinism) ทฤษฎีวิวัฒนาการ   วิวัฒนาการทางสังคม (Social Darwinism) การนำแนวคิดวิวัฒนาการสิ่งมีชีวิตของ Charles Darwin มาใช้อธิบาย วิวัฒนาการของสังคมว่ามีการเลือกสรรสังคมที่พัฒนา ได้เหมาะสมจะเจริญเร็วกว่า 

วิวัฒนาการสายเดี่ยว (Unilinear Evolution) Psychic Unity of Mankind James Frazer Science วิทยาศาสตร์ Religion ศาสนา Magic ไสยศาสตร์ Edward B. Tylor Civilization ยุคอารยธรรม Barbarism ยุคอนารยชน Savagery ยุคคนป่า

วิวัฒนาการหลายสาย (Multi-linear Evolution) วิวัฒนาการของขวานหิน

ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) - มีจุดกำเนิดหรือศูนย์รวมของวัฒนธรรมร่วมกัน - มีการติดต่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน / การอพยพเคลื่อนย้ายประชากร

- เขตวัฒนธรรม Cultural Area - โลกาภิวัตน์ Globalization

ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่นิยม(Structural – Functionalism) - อธิบายการทำงานของสังคม  - สังคมทำงานเป็นระบบเหมือนสิ่งมีชีวิต - พฤติกรรมมนุษย์มีแบบแผน - แบ่งพฤติกรรมเป็นระบบ ทำงานประสานกันเกิดเป็นโครงสร้าง หน้าที่ของพฤติกรรมต่างๆ คือการรักษาสมดุลของสังคม ดังนั้น พฤติกรรมทุกอย่างในสังคมจึงมีหน้าที่สนองตอบความต้องการ ของมนุษย์ อย่างใดอย่างหนึ่ง

วิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา 1.ใช้วิธีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์สังคม (Social Science) - สังเกตการณ์ / ตั้งสมมุติฐาน / พิสูจน์ ทดลอง / ตั้งเป็นทฤษฎี - ภววิสัย (Objectivity) ศึกษาอย่างเป็นกลางไม่ใช้อคติตัดสิน ตรงกันข้ามกับอัตวิสัย (Subjectivity)

2.เน้นการศึกษาภาคสนาม (Fieldwork) - การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม (Participant Observation) - การสัมภาษณ์ 3.การศึกษาแบบเปรียบเทียบ - หาแบบแผนความแตกต่าง / ความเหมือน ให้ความสำคัญกับสังคมวัฒนธรรมอื่น โดยเฉพาะสังคมที่ ไม่ใช่สังคม ตะวันตก