พื้นฐานทางเคมีของชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
Conductors, dielectrics and capacitance
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Intermolecular Forces
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Chemical Bonding I: Basic Concepts
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
อิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอม Electron & Atomic Structure อ
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
กาแล็กซีและเอกภพ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
สารประกอบ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
การระเบิด Explosions.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
มหัศจรรย์แห่งอะตอม 1 ตอน 1 โครงสร้างอะตอม อ.ถนอมจิตต์ เสนมา ร.ร.เตรียมอุดมศึกษา.
พันธะเคมี.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
Nuclear Symbol kru piyaporn.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พื้นฐานทางเคมีของชีวิต อาจารย์ผู้สอน : ผศ. วิไลภรณ์ บุญญกิจจินดา

เนื้อหาประกอบด้วย 1. อะตอมและโมเลกุล พันธะเคมี 2. ชีวโมเลกุล

อะตอมและโมเลกุล

โครงสร้างของอะตอม อะตอมเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ ในโครงสร้างของอะตอมแบ่งเป็นอนุภาคย่อยๆ คือ - โปรตอน - นิวตรอน - อิเล็กตรอน เพราะเหตุใดอะตอมจึงไม่แสดงประจุ?

ในแต่ละอะตอมมีจำนวนโปรตอน = อิเล็กตรอน แสดงโครงสร้างอะตอมของธาตุต่างๆ ธาตุแต่ละธาตุมีจำนวนโปรตอนไม่เท่ากัน เป็นคุณสมบัติเฉพาะตัวของธาตุ ในแต่ละอะตอมมีจำนวนโปรตอน = อิเล็กตรอน

จำนวน proton ไม่จำเป็นต้องเท่ากับneutron

K 39 19 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เลขอะตอม (atomic number ) =จำนวน proton เลขมวล (mass number ) = จำนวน proton + neutron 39 K 19 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ

Atomic number=? Mass number=?

การทราบค่า atomic number และ mass number ทำให้เราเข้าใจถึงการเสีย e-/รับ e- หรือการใช้ e- ร่วมกันของ อะตอมซึ่งทำให้เกิดพันธะเคมีแบบต่าง ๆ

Isotope คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีจำนวน นิวตรอนไม่เท่ากัน 3H 1H 2H + + +

Electrons Cloud (Orbital) ในทุกอะตอมจะมี e- ซึ่ง มีพลังงานอยู่ในอนุภาควิ่งวนรอบนิวเคลียส แต่ละ e- จะถูกดึงดูดโดยโปรตอนซึ่งมีประจุตรงกันข้าม และถูกผลักให้ห่างจาก e- ด้วยกัน บริเวณที่พบ e- เรียกว่า orbital

อิเล็กตรอนที่วิ่งอยู่ไกลจากนิวเคลียสมากที่สุด จะมีพลังงานสูงที่สุด เรียกอิเล็กตรอนกลุ่มที่อยู่นอกสุดนี้ว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron) Valence electron

บทบาทของ valence electron +3 +1 +14 +8 +6 +11 +10 +17 +16 +18 +9 -1 +4 +2 Electrons needed for atoms in each column to achieve stability (inert) บทบาทของ valence electron

การเกิดเป็นโมเลกุล อะตอมใดที่มี valence electron ไม่ครบ 2 หรือ ไม่ครบ 8 จะไม่เสถียรและจะทำปฏิกิริยากับอะตอมอื่น ๆ ได้หลายวิธี :  โดยการเสียเวเลนซ์อิเล็กตรอนให้อะตอมอื่น ทำให้ไม่มี e- ใน electron shell นอกสุด  โดยการรับ e- จากอะตอมอื่นทำให้ electron shell นอกสุด มี e- ครบ 2 หรือ ครบ 8  โดยการใช้ e- ร่วมกัน ทำให้แต่ละอะตอมที่รวมตัวกันเปรียบ เสมือนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอน ครบ 2 หรือ ครบ 8 ปฏิกิริยาการเสีย e- , การรับ e- หรือการใช้ e- ร่วมกันทำให้ เกิดแรงยึดเหนี่ยวเรียกว่า พันธะเคมี (chemical bond) ทำให้อะตอมรวมตัวกันเป็นโมเลกุลได้