การขับถ่ายของเสีย (Excretion) การขับถ่ายของเสีย-เป็นการขับถ่ายของเสียที่เกิดจาก กระบวนการเมทาบอลิซึม ได้แก่ CO2 ของเสียที่มีไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบ
อวัยวะขับถ่ายในสัตว์ชนิดต่าง ๆ
protonephridia Flame cells
Metanephridium
Malpighian tubules
หน้าที่ของไต -ไม่เกี่ยวกับการขับถ่ายของเสีย -กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง O2 ต่ำ ไต erythropoietin ไขกระดูก RBC -ปรับแรงดันเลือด -เปลี่ยน Vit. D ให้ทำงานได้ -สร้างฮอร์โมน prostaglandins, kallikrein และ kinin ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว -สร้างกลูโคสจากสารอื่น
หน้าที่ของไต -เกี่ยวกับการขับถ่ายของเสีย -ขับถ่าย, รักษาดุลของน้ำ -รักษาดุลอีเลคโตรไลท์ -Na+ ,K+ ,Cl, PO43- SO42-,Ca2+,Mg2+ -รักษาดุลกรด-ด่าง -ขับถ่ายของเสียและสารที่อาจเป็นพิษต่อ ร่างกาย -ยูเรีย กรดยูริค ยา สารอินทรีย์และอนินทรีย์
เส้นเลือดที่มาเลี้ยงไต Dorsal aorta renal artery afferent arteriole (เข้าไต) efferent arteriole (ออกจากไต) glomerulus peritubular capillaries (vasa recta) renal vein inferior venacava
glumerulus Renal artery Loop of Henle Proximal convoluted tubule Renal arteriole Bowman’s capsule Proximal convoluted tubule Loop of Henle Distal Collecting duct
การรักษาความเข้มข้นของน้ำนอกเซลล์
ร่างกายขาดน้ำ ความเข้มข้นของน้ำนอกเซลล์สูงขึ้น Osmoreceptor ที่ Hypothalamus เหี่ยว กระตุ้นการสร้าง ADH กระหายน้ำ ร่างกายเก็บสงวนรักษาน้ำไว้ได้ เพิ่มการดูดกลับที่ท่อหน่วยไต
ความเข้มข้นของน้ำนอกเซลล์ลดลง ร่างกายมีน้ำมาก ความเข้มข้นของน้ำนอกเซลล์ลดลง เลือดกลับเข้าสู่หัวใจเพิ่มขึ้น Osmoreceptor ที่ Hypothalamus เต่ง Baroreceptor เอเตรียมขวา หลอดเลือดแดงใหญ่ การสร้าง ADH ลดลง ลดการดูดกลับที่ท่อหน่วยไต ปัสสาวะเพิ่มขึ้น
การรักษาปริมาตรของน้ำนอกเซลล์
เสียเลือด เลือดกลับเข้าหัวใจลดลง Stretch receptor -ที่ เอเตรียม -ผนังหลอดเลือดแดง ดำใหญ่ในปอด -เส้นเลือดที่ไต Hypothalamus ADH เพิ่มขึ้น เพิ่มการดูดกลับน้ำที่ท่อหน่วยไต
การรักษาสมดุลโซเดียม ตับ Angiotensinogen renin Na+ ต่ำ (ผนังท่อไตส่วนปลาย macula densa) Juxtaglomerular cells Angiotensin I Conversting enzyme (ปอด) Angiotensin II เพิ่มการดูดกลับ Na+ ที่ -ท่อหน่วยไต -ต่อมเหงื่อ ต่อมหมวกไตส่วนนอก (Zona glomerulosa) Aldosterone เพิ่มขึ้น