กลุ่มเศรษฐกิจ ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ
Advertisements

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
บทบาทของสภาวิศวกรในการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรม
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การมีภาวะเจริญพันธุ์ลดลง
ตารางชีพ Life Tables ตารางตัวเลข แสดงอายุขัยเฉลี่ยและโอกาสที่จะตายในแต่ละ อายุขัยของประชากรกลุ่มหนึ่ง แบ่งเป็น 1. สำหรับช่วงอายุหนึ่งของคน General.
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร.
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร
ผู้สูงอายุไทย : ปัจจุบันและอนาคต
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
สิทธิของข้าราชการทหาร
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
การแจกแจงปกติ.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
แนวโน้มอนามัยการเจริญ พันธุ์ ระหว่างปี 2549 และ 2552 การสำรวจอนามัยการเจริญพันธุ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ Health Equity Monitoring Network : HEM-Net.
The Future Challenges and Policy Elaboration นพ. โกเมนทร์ ทิวทอง.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
1. กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม ของคนไทย InformationIdeasInitiatives.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยราชสุดา ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันนวัตกรรม การเรียนรู้ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันโภชนาการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะ กายภาพบำบัด ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษา และวัฒนธรรมเอเชีย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยนานาชาติ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
วัยรุ่น และ...วัยเรียน นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันชีววิทยา ศาสตร์โมเลกุล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มเศรษฐกิจ ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ ลักษณะงาน ( ลักษณะอุตสาหกรรม ) ลักษณะการจ้างงาน ( การจ้างงานโดยภาคเอกชน รัฐบาล ส่วนบุคคล หรือ ในครอบครัว ) สถานที่ทำงาน การคมนาคม รายได้

คือ การกระจายตัวของประชากร ปิรามิดประชากร Population Pyramid คือ การกระจายตัวของประชากร ตามอายุและเพศ

ลักษณะทั่วไป 3 แบบ 1. แบบฐานขยาย -มีประชากรกลุ่มอายุน้อย เป็นจำนวนมาก 2. แบบฐานแคบ -มีประชากรกลุ่ม อายุน้อยไม่มาก 3. แบบคงที่ -ประชากรในกลุ่ม อายุต่างๆ มีพอๆ กัน

การสร้างปิรามิด 1. ใช้จำนวนประชากร Absolute numbers 2. ใช้สัดส่วน Proportion

รูปแบบของปิรามิดมี 5 แบบ

การแปลความจากปิรามิดประชากร 1. ฐานกว้างเข้าหาปลายรูป = อัตราเกิดสูง อัตราตายสูง มีช่วงคนเป็นภาระสูง

2. ฐานกว้างมากกว่าแบบที่ 1 คอดเรียวหาส่วนยอดแหลม 2. ฐานกว้างมากกว่าแบบที่ 1 คอดเรียวหาส่วนยอดแหลม = การเพิ่มของประชากรเร็วมาก (เพราะการตายของทารกอายุ ต่ำกว่า 1 ปี ลดลง แต่อัตราเกิดไม่ลดลง ทำให้ประชากรเพิ่มมาก) ช่วงอายุกลาง การเพิ่มลดลง เพราะการตายลดลง อัตราส่วนพึ่งพิงสูงสุด พบใน ฟิลิปปินส์ บราซิล เม็กซิโก

3. รูปคล้าย รวงผึ้ง = อัตราเกิดต่ำเพราะฐานแคบ และภาวะการตายต่ำ ทำให้ช่วงกลาง มีประชากรมาก อัตราส่วนพึ่งพิงมีเฉพาะผู้สูงอายุ พบในยุโรป

4. รูปคล้าย ระฆัง = อัตราตายต่ำ ต่อมาอัตราเกิดเพิ่มแต่อัตราตายยังต่ำ ประชากรเพิ่มช่วงอายุกลาง จะคล้ายแบบที่ 3 ในอนาคต อัตราส่วนพึ่งพิงมีเฉพาะกลุ่มเด็ก พบในสหรัฐอเมริกา และ แคนาดา

5. อัตราเกิดลดลงอย่างรวดเร็ว และถ้าลดลงอีกฐานจะแคบเข้า อัตราตายต่ำ พบในญี่ปุ่น

Figure 2.1 : Population Pyramid for Australia June 1977 Figure 2.2 : Population Pyramid For Australia (1961 Census) and West Malaysia (1957 Census)

Figure 7.2 : Age sex distribution of female stable populations with high mortality (e0 = 40) and low mortality (e0 = 70) and rates of growth r = 0, 1 and 2% p.a.

ตัวอย่างปิรามิดลักษณะต่างๆ

โครงสร้างทางอายุและเพศ (ปิรามิดประชากร)

Figure 19-3 : Population Structure of Developing and Developed Regions of the World

Figure 2.3 : Population pyramid for West Germany (1972)

Figure 8.3 : Age Pyramid in Different Areas of San Diego (1970)

Figure 8.3 : Age Pyramid in Different Areas of San Diego (1970)

องค์ประกอบสำคัญของภาวะการเจริญพันธุ์ ภาวะการเจริญพันธุ์ (Fertility) คือ จำนวนบุตรที่เกิดจริงของบุคคล องค์ประกอบสำคัญของภาวะการเจริญพันธุ์ ความสามารถในการมีบุตร Fecundity การเป็นหมัน Sterility

การคำนวณภาวะเจริญพันธุ์ 1. อัตราเกิด( CBR ) = จำนวนทารกที่เกิดมีชีพ จำนวนประชากรกลางปี x 1,000 2. CWR = อัตราส่วนเด็กต่อสตรี Child Woman Ratio = เด็กอายุ 0 - 4 สตรี อายุ 15 - 49 x 1,000 3. GFR = จำนวนการเกิดทั้งหมด จำนวนสตรีที่มีอายุ 15 - 49 x 1,000

4. Age - Specific fertility อัตราการเจริญพันธุ์ตามรายอายุ 15 - 19 20 - 24 25 - 29 30 - 34 35 - 39 40 - 44 45 - 49 คือ การแบ่งสตรีเป็นหมวดโดยใช้ความแตกต่าง 5 ปี

Asf = จำนวนการเกิดจากสตรีในกลุ่มอายุหนึ่ง จำนวนสตรีที่มีอายุในกลุ่มเดียวกัน x 1,000 ตัวอย่าง = จำนวนเด็กที่เกิดจากสตรี 20 - 24 จำนวนสตรีในกลุ่ม 20 - 24 x 1,000

5. อัตราเจริญพันธุ์รวมยอด ( Total fertility rate ) จำนวนบุตรที่เกิดรอดโดยเฉลี่ยจากสตรีคนหนึ่ง หรือ กลุ่มหนึ่ง คำนวณจากวิธีที่ 4 ทั้ง 7 กลุ่ม มาคูณกับ 5 ตัวอย่าง อายุ อัตราต่อพัน อายุ อัตราต่อพัน 15 - 19 120 35 - 39 70 20 - 21 150 40 - 44 50 25 - 29 200 45 - 49 20 30 - 34 130 ผลรวมอัตราต่อพัน = 740 = 740 x 5 = 3,7000 หรือ 3.7 ต่อ พัน

1. อัตราการเกิดอย่างหยาบ 1. อัตราการเกิดอย่างหยาบ Crude Birth Rate ( CBR ) 2. อัตราส่วนเด็กต่อสตรี Child Woman Ratio ( CWR ) 0 - 4 ปี = ? 15 - 50 ปี = ? 3. อัตราการเจริญพันธุ์ทั่วไป Growth Fertility rate ( GFR ) 4. อัตราเจริญพันธุ์ตามรายอายุ Age - Specific Fertility ( ASF ) 5. อัตราการเจริญพันธุ์รวบยอด Total Fertility Rate ( TFR )

6. อัตราเกิดทดแทนรวม Growth Reproductive Rate Gross - Net 6. อัตราเกิดทดแทนรวม Growth Reproductive Rate Gross - Net GRR = TFR x bf B bf = จำนวนเด็กที่เกิดเพศหญิง B = จำนวนเด็กที่เกิดทั้งหมดในปีเดียวกัน

และทั่วราชอาณาจักร พ.ศ. 2538-39 ตารางที่ 3 อัตราเจริญพันธุ์ จำแนกตามหมวดอายุของสตรีในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล และทั่วราชอาณาจักร พ.ศ. 2538-39 TABLE 3 AGE-SPECIFIC FERTILITY RATES FOR MUNICIPAL, NON-MUNICIPAL AREAS AND THE WHOLE KINGDOM : 1995-96 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540

ตารางที่ 3-1 อัตราเจริญพันธุ์ จำแนกตามหมวดอายุของสตรี จำแนกตามปีสำรวจ TABLE 3-1 AGE-SPECIFIC FERTILITY RATES BY YEAR OF SURVEY ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540

ตารางที่ 3-2 อัตราเจริญพันธุ์ทั้งมวล จำแนกตามภาค พ. ศ ตารางที่ 3-2 อัตราเจริญพันธุ์ทั้งมวล จำแนกตามภาค พ.ศ. 2528-29, 2534 และ พ.ศ. 2538-39 TABLE 3-2 TOTAL FERTILITY RATES BY REGION : 1985-86, AND 1995-96 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2540

อัตราเกิดทดแทน Net Reproductive Rate เงื่อนไข - สตรีไม่สามารถมีบุตรได้ทุกคน - สตรีอาจตาย - สตรีอาจไม่แต่งงาน bf x อัตราเกิดตามหมวดอายุของสตรีแต่ละหมวด B อัตราส่วนรอดชีพ ( จำนวนประชากรที่เหลือรอดในกลุ่มเดียวกัน ) x 1,000

Figure 6.8 : Crude birth rates among the countries of the world.