Welcome to Food for Health.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
อาหารหลัก 5 หมู่.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
พงศธร สังข์เผือก สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์
Protein.
ปัญหาจากสภาพแวดล้อม 1. ประชากรล้น 2. ภาวะมลพิษ - ของเสียจากธรรมชาติ
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
Protein.
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
Chemical Properties of Grain
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
Welcome to Food for Health.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2550 รัชนีกร กุญแจทอง นักวิชาการสาธารณสุข 7 ว. กลุ่มโรคไม่ติดต่อ.
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
ภาวะไตวาย.
สรุปสาระเวทีประชุม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพครั้งที่ 7.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กินตามกรุ๊ปเลือด.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กำมะถัน (Sulfur).
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Welcome to Food for Health

554 104 Food for Health  ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความต้องการอาหารของร่างกาย  องค์ประกอบของอาหาร  สุขลักษณะของอาหารกับสุขภาพ  อาหารที่ไม่ได้สัดส่วนกับโรค  อุปนิสัยการรับประทาน  อาหารกับสุขภาพ  ปัญหาโภชนาการ  การคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร

กลางภาค 140 คะแนน ปลายภาค 140 คะแนน  บรรยาย สัปดาห์ละ 3 คาบ (13.55-16.35 น.)  รวม 14 สัปดาห์  สอบข้อเขียน 2 ครั้ง (100 %) กลางภาค 140 คะแนน ปลายภาค 140 คะแนน

Let’s go...

ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับสุขภาพ  คำจำกัดความของ อาหาร สุขภาพ และโภชนาการ  ค่ามาตรฐานที่ใช้อ้างอิงคุณค่าทางโภชนาการ  ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ  การแบ่งกลุ่มและตัวอย่างอาหารกลุ่มต่างๆ  ความสำคัญและบทบาทต่อร่างกาย  ระบบการย่อยและดูดซึมอาหาร ปัญหาที่พบ  ตัวอย่างปัญหาโภชนาการในประเทศไทย

References  Foundations and clinical applications of nutrition. (Grodner, Anderson and DeYoung. 2000.)  สรีรวิทยาของการออกกำลังกาย (ชูศักดิ์ เวชแพทย์ และ กันยา ปาละวิวัธน์. 2536)  อาหารกับสุขภาพในแนววัฒนธรรม (ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. 2541)  องค์รวมแห่งสุขภาพ (พระไพศาล วิสาโล - บรรณาธิการ. 2536)  เครื่องสำอางสำหรับผิวหนัง (พิมพร ลีลาพรพิสิฐ. .2532)

References (continued)  ชีวเคมี (มนตร์ จุฬาวัฒนฑล และ ประหยัด โกมารทัต - บรรณาธิการ. 2536)  สุขภาพผู้ใหญ่วัยทำงาน (รุ่งรวี บริราษ. 2530)  อาหารรักษาโรค (วิจิตร บุณยะโหตระ. 2533)  10 ปี สถาบันวิจัยโภชนาการ (สถาบันวิจัยโภชนาการ. 2530)  การแพทย์นอกระบบ -177 ทางเลือกไปสู่สุขภาพ (สุวิชญ์ ปรัชญาปารมิตา. 2541)  อาหารเพื่อสุขภาพ (โอวาท นิติทัณฑ์ประภาศ. 2529)

อาหาร (Foods) หมายถึง สิ่งที่รับประทานได้ ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือไม่ก็ตาม ประกอบด้วย 2 ส่วน - Nutrients - Non-nutrients

แบ่งตามคุณสมบัติทางเคมี ประเภทของอาหาร แบ่งตามคุณสมบัติทางเคมี  Protein  Carbohydrates  Lipids (Fat)  Minerals  Vitamins  Water

แบ่งตามคุณประโยชน์หลัก ประเภทของอาหาร แบ่งตามคุณประโยชน์หลัก  ให้พลังงานเป็นหลัก - Carbohydrates & Lipids - Protein  ช่วยในการเจริญเติบโต เสริมสร้างและ ซ่อมแซม - Minerals - Vitamins

ประเภทของอาหาร แบ่งตามปริมาณที่ร่างกายต้องการ  Macronutrients - Protein - Carbohydrates - Lipids (Fat)  Micronutrients - Minerals - Vitamins

ประเภทของอาหาร แบ่งตามหลักโภชนาการ  หมู่ 1 เนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง (โปรตีน วิตามิน เกลือแร่)  หมู่ 2 ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน (คาร์โบไฮเดรต)  หมู่ 3 ผักสีเขียว สีเหลือง (วิตามิน แร่ธาตุ ใยอาหาร)  หมู่ 4 ผลไม้ (วิตามิน แร่ธาตุ มีคาร์โบไฮเดรตบ้าง)  หมู่ 5 น้ำมันและไขมัน (ไขมัน-ให้พลังงาน)

แบ่งตามความสามารถในการสร้างของร่างกาย ประเภทของอาหาร แบ่งตามความสามารถในการสร้างของร่างกาย  Nonessential nutrients  Essential nutrients - Glucose - Linoleic acid , Linolenic acid - Amino acids บางตัว - Vitamins - Minerals - Water

สุขภาพ (Health) Health is a state of complete physical, mental, and social well-being (and not merely the absence of disease and infirmity) สุขภาพ คือสุขภาวะโดยสมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต และทางสังคม

สุขภาพ - คุณภาพชีวิต  คุณภาพชีวิตทางสังคม  คุณภาพชีวิตทางจิต  คุณภาพชีวิตทางกายหรือทางวัตถุ  คุณภาพชีวิตทางสังคม  คุณภาพชีวิตทางจิต  คุณภาพชีวิตทางปัญญา

ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ  ปัจจัยส่วนบุคคล - กรรมพันธุ์ - พฤติกรรม - ความเชื่อ (belief) และจิตวิญาณ (spirit)  ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม - สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ - สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ - สิ่งแวดล้อมทางสังคม

ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ (ต่อ)  ปัจจัยจากระบบบริการสังคม - การครอบคลุมและเข้าถึงประชากร - ความหลากหลายของการให้บริการ - การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ  วัคซีน  พฤติกรรม - Rabies vaccine - Hepatitis B vaccine

โภชนาการ (Nutrition)  เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับสิ่งมีชีวิต - ชนิดและปริมาณสารอาหารที่ร่างกายต้องการ - หน้าที่และบทบาทของสารอาหาร - ปัญหาทุพโภชนาการ - การป้องกันและเฝ้าระวังมิให้มีปัญหาทางโภชนาการ

ค่ามาตรฐานด้านโภชนาการ  Recommended Dietary Allowance (RDAs) = ปริมาณสารอาหารที่ประชาชนในแต่ละภูมิภาคควรได้รับ เพื่อไม่ให้เกิดโรคขาดสารอาหาร  Dietary Reference Intakes (DRIs) = ปริมาณสารอาหารที่ประชาชนในแต่ละภูมิภาคควรได้รับ เพื่อไม่ให้เกิดโรคขาดสารอาหาร และลดโอกาสเกิดโรคอันเนื่องมาจากอาหาร

การประเมินค่า DRIs พิจารณาจาก  ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์  บทบาทการลดโอกาสเกิดโรคหรือสภาวะบางอย่าง  ข้อมูลปัจจุบัน - ระดับการบริโภคอาหารของกลุ่มคน

องค์ประกอบของ DRIs  Estimated Average Requirement (EAR)  Recommended Dietary Allowance (RDA)  Adequate Intake (AI)  Tolerable Upper Intake Level (UL)

พลังงานจากสารอาหาร กำหนดเป็น calorie โปรตีนและคาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้ 4 Cal ไขมัน 1 กรัม ให้ 9 Cal

การย่อยอาหาร

ขั้นตอนการย่อยและดูดซึมอาหาร

ปัญหาในระบบย่อยอาหาร  Ulcer - Gastric ulcer - Duodenal ulcer  Gall stone (นิ่วในถุงน้ำดี) - protein - calcium salt of bilirubin - cholesterol  อาหารไม่ย่อย