จิตวิทยาเบื้องต้น โดย ….รองศาสตราจารย์ลิขิต กาญจนาภรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
Advertisements

หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
Physiology of Crop Production
พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน (Humen Behavior and Self Development)
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
( Organization Behaviors )
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
กิจกรรมนันทนาการ.
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
( Organization Behaviors )
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
(Organizational Behaviors)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
( Human Relationships )
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
หลักสูตร ”การพัฒนาบุคลิกภาพสู่ความสำเร็จ”
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ความเป็นครู.
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

080 127 จิตวิทยาเบื้องต้น โดย ….รองศาสตราจารย์ลิขิต กาญจนาภรณ์ ภาควิชา จิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ความหมายและขอบข่ายของวิชาจิตวิทยา ประวัติของวิชาจิตวิทยา สาระของวิชาจิตวิทยาเบื้องต้น สาขาของวิชาจิตวิทยาและวิชาชีพจิตวิทยา ประโยชน์ของการศึกษาวิชาจิตวิทยา

ความหมายของคำ PSYCHOLOGY รากศัพท์ Psyche Psyche : หมายถึง soul = วิญญาณ mind = จิต breath = ลมปราณ

ประวัติของ Psyche กับ Eros ความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิต

การศึกษาจิตวิทยา ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างกายกับจิต

1. ความหมายของวิชาจิตวิทยา : การศึกษาจิตวิทยายุควิทยาศาสตร์ (a) Psychology is a science of human and animal behavior, it includes the applications of this science to human problems.

(b) Psychology is the scientific study of behavior and mental processes. (c) Psychology is the science that studies the behavior of man and other animals.

ความหมายของพฤติกรรม -Behavior กิริยาที่แสดงออก และ สามารถสังเกตได้

นักจิตวิทยาแบ่งพฤติกรรมออกเป็น 2 ประเภท 1. พฤติกรรมภายนอก เป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งสามารถสังเกตได้จากสายตา การฟัง เช่น การเดิน การรับประทานอาหาร การพูด การยิ้ม

2. พฤติกรรมภายใน เป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงการทำงานของจิต หรือ กระบวนการของจิต ไม่สามารถสังเกตได้จากสายตา การฟัง เช่น การคิด การรู้สึก การรับรู้ การเรียนรู้ การจำ การคิดแก้ปัญหา

การแสดงออกของพฤติกรรมมี 3 ลักษณะ พฤติกรรมในอำนาจจิต จิตสั่งการให้ทำ เป็นการทำงานของสมอง

2. พฤติกรรมนอกอำนาจจิต จิตสั่งการไม่ได้ เป็นการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ สัมพันธ์กับอารมณ์ เช่น การเต้นของหัวใจ ความดันของโลหิต การหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร

3. พฤติกรรมตอบสนอง รีเฟลกซ์ เป็นการทำงานของระบบประสาทไขสันหลัง มีเป้าหมายให้รอดพ้นจากอันตราย ต้องกระทำอย่างทันที เช่น การสะดุ้ง การจาม การกระพริบตา

2. ประวัติของวิชาจิตวิทยา Wilhelm Wundt บิดาแห่งจิตวิทยา ยุควิทยาศาสตร์ก่อตั้งห้องปฏิบัติการจิตวิทยา ทดลองเกี่ยวกับ Psychophysics

แบ่งจิตออกเป็น Element = จิตธาตุ หรือสาระของจิต Sensation = การรู้สึกจากสัมผัสทั้ง 5 Feeling = อารมณ์ Image = ภาพลักษณ์หรือความประทับใจ

William James จิตทำหน้าที่เพื่อการปรับตัวการอยู่รอด

Sigmund Freud The Interpretation of Dreams Psychoanalytic Unconscious

John B Watson จิตวิทยาศึกษาพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้เท่านั้น เป็นจุดกำเนิดของจิตวิทยาแนว Behaviorism

Ivan P Pavlov

3. สาระของวิชาจิตวิทยาเบื้องต้น 1. ความหมายและขอบข่ายของวิชาจิตวิทยา 2. พื้นฐานทางชีวะวิทยาของพฤติกรรม

องค์ประกอบทางพันธุกรรมและพื้นฐานพัฒนาการชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์

4. ภาวะการรู้สึกตัว

5. การรู้สึก

6. การรับรู้ 

การรับรู้ 

7. การจำและการลืม

8. การเรียนรู้ 

การเรียนรู้ 

9. เชาวน์ปัญญาและความสามารถทางสมอง

10. การคิด การแก้ปัญหา และความคิดสร้างสรรค์

11. แรงจูงใจ

12. อารมณ์ 13. บุคลิกภาพ 14. ความเครียดและการปรับตัว 15. พฤติกรรมอปกติ 16. พฤติกรรมทางสังคม

4. สาขาของจิตวิทยาและวิชาชีพจิตวิทยา มีสมาคมวิชาชีพของสาขาจิตวิทยาหลายสมาคม ที่แนะนำในครั้งนี้ คือ APA The American Psychological Association (APA) G. Stanley Hall Ph.D. สาขาจิตวิทยาคนแรกของระบบการศึกษาอเมริกัน เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งสมาคม APA เมื่อปี 1892 มีวัตถุประสงค์ดังนี้

“The purpose of the APA is to advance psychology as a science, as a profession, and as a means of promoting human welfare by the encouragement of psychology of all branches in the broadest and most liberal manner.” It attempts to further these objectives by holding annual meetings, publishing psychological journals, and working toward improve standards for psychological training and service.

การจำแนกสาขาของจิตวิทยา ของ APA ในปี 1995 มี 55 แขนง (Division) งานวิชาชีพจิตวิทยาในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะจัดสัดส่วนของจิตวิทยาสาขาต่าง ๆ ได้ ดังนี้

ตัวอย่างวิชาชีพจิตวิทยา Psychologist นักจิตวิทยา Professional who studies behavior and use behavioral principles in scientific research or in applied setting.

Clinical psychologist นักจิตวิทยาคลินิก Mental health practitioner who views behavior and mental process from s psychological perspective and who assesses and treats persons with serious emotional or behavioral problems or conducts research into the causes of behavior.

Counseling psychologist นักจิตวิทยาการปรึกษา Mental health practitioner who assist people who have behavioral or emotional problems, through the use of testing, psychotherapy, and other therapies.

Psychiatrist จิตแพทย์ Physician (medical doctor) specializing in the treatment of patients with mental or emotional disorders.

5. ประโยชน์ของการศึกษาวิชาจิตวิทยา 1. ทำให้มีความเข้าใจในพฤติกรรมของตนเอง มีทัศนคติที่ดี ต่อตัวเองยอมรับตัวเอง 2. ทำให้มีความเข้าใจในพฤติกรรมของคนอื่น มีทัศนคติที่ดี ต่อคนอื่น ยอมรับคนอื่น 3. ทำให้สามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุของพฤติกรรม เป็นคนมี เหตุผลและและยอมรับเหตุผล

4. ทำให้มีความสามารถในการปรับตัว มีการปรับปรุงตนเอง มีบุคลิกดี มีมนุษยสัมพันธ์ สุขภาพจิตดี 5. นำเอาความรู้ทางพฤติกรรมไปประยุกต์กับวิชาชีพ ด้านธุรกิจ การออกแบบ การตกแต่ง การจูงใจงานการโฆษณาประชา สัมพันธ์ การให้บริการต่าง ๆ การให้การศึกษาและการฝึกอบรม การอนุบาลและการพัฒนาเด็ก การแพทย์และการพยาบาล ทำให้เกิดความก้าวหน้าในอาชีพ

6. มีทัศนคติที่ดีต่อการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน การสงเคราะห์คนอื่น การรักในสันติภาพ 7. เป็นคนทันสมัย มีโลกทัศน์กว้าง มีคุณธรรม 8. เป็นคนน่าเชื่อถือ 9. ส่งเสริมความมั่นคงในชีวิตครอบครัว ความรักระหว่างสามี ภรรยา การเลี้ยงดูและการอบรมลูก เพิ่มคุณภาพชีวิต สร้างสรรค์ครอบครัว ไม่สร้างปัญหาให้ แก่สังคม 10. ระมัดระวังในสุขภาพของตนเองและของผู้อื่น ทำให้มีชีวิตที่ดี