080 127 จิตวิทยาเบื้องต้น โดย ….รองศาสตราจารย์ลิขิต กาญจนาภรณ์ ภาควิชา จิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ความหมายและขอบข่ายของวิชาจิตวิทยา ประวัติของวิชาจิตวิทยา สาระของวิชาจิตวิทยาเบื้องต้น สาขาของวิชาจิตวิทยาและวิชาชีพจิตวิทยา ประโยชน์ของการศึกษาวิชาจิตวิทยา
ความหมายของคำ PSYCHOLOGY รากศัพท์ Psyche Psyche : หมายถึง soul = วิญญาณ mind = จิต breath = ลมปราณ
ประวัติของ Psyche กับ Eros ความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิต
การศึกษาจิตวิทยา ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างกายกับจิต
1. ความหมายของวิชาจิตวิทยา : การศึกษาจิตวิทยายุควิทยาศาสตร์ (a) Psychology is a science of human and animal behavior, it includes the applications of this science to human problems.
(b) Psychology is the scientific study of behavior and mental processes. (c) Psychology is the science that studies the behavior of man and other animals.
ความหมายของพฤติกรรม -Behavior กิริยาที่แสดงออก และ สามารถสังเกตได้
นักจิตวิทยาแบ่งพฤติกรรมออกเป็น 2 ประเภท 1. พฤติกรรมภายนอก เป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งสามารถสังเกตได้จากสายตา การฟัง เช่น การเดิน การรับประทานอาหาร การพูด การยิ้ม
2. พฤติกรรมภายใน เป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงการทำงานของจิต หรือ กระบวนการของจิต ไม่สามารถสังเกตได้จากสายตา การฟัง เช่น การคิด การรู้สึก การรับรู้ การเรียนรู้ การจำ การคิดแก้ปัญหา
การแสดงออกของพฤติกรรมมี 3 ลักษณะ พฤติกรรมในอำนาจจิต จิตสั่งการให้ทำ เป็นการทำงานของสมอง
2. พฤติกรรมนอกอำนาจจิต จิตสั่งการไม่ได้ เป็นการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ สัมพันธ์กับอารมณ์ เช่น การเต้นของหัวใจ ความดันของโลหิต การหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
3. พฤติกรรมตอบสนอง รีเฟลกซ์ เป็นการทำงานของระบบประสาทไขสันหลัง มีเป้าหมายให้รอดพ้นจากอันตราย ต้องกระทำอย่างทันที เช่น การสะดุ้ง การจาม การกระพริบตา
2. ประวัติของวิชาจิตวิทยา Wilhelm Wundt บิดาแห่งจิตวิทยา ยุควิทยาศาสตร์ก่อตั้งห้องปฏิบัติการจิตวิทยา ทดลองเกี่ยวกับ Psychophysics
แบ่งจิตออกเป็น Element = จิตธาตุ หรือสาระของจิต Sensation = การรู้สึกจากสัมผัสทั้ง 5 Feeling = อารมณ์ Image = ภาพลักษณ์หรือความประทับใจ
William James จิตทำหน้าที่เพื่อการปรับตัวการอยู่รอด
Sigmund Freud The Interpretation of Dreams Psychoanalytic Unconscious
John B Watson จิตวิทยาศึกษาพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้เท่านั้น เป็นจุดกำเนิดของจิตวิทยาแนว Behaviorism
Ivan P Pavlov
3. สาระของวิชาจิตวิทยาเบื้องต้น 1. ความหมายและขอบข่ายของวิชาจิตวิทยา 2. พื้นฐานทางชีวะวิทยาของพฤติกรรม
องค์ประกอบทางพันธุกรรมและพื้นฐานพัฒนาการชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์
4. ภาวะการรู้สึกตัว
5. การรู้สึก
6. การรับรู้
การรับรู้
7. การจำและการลืม
8. การเรียนรู้
การเรียนรู้
9. เชาวน์ปัญญาและความสามารถทางสมอง
10. การคิด การแก้ปัญหา และความคิดสร้างสรรค์
11. แรงจูงใจ
12. อารมณ์ 13. บุคลิกภาพ 14. ความเครียดและการปรับตัว 15. พฤติกรรมอปกติ 16. พฤติกรรมทางสังคม
4. สาขาของจิตวิทยาและวิชาชีพจิตวิทยา มีสมาคมวิชาชีพของสาขาจิตวิทยาหลายสมาคม ที่แนะนำในครั้งนี้ คือ APA The American Psychological Association (APA) G. Stanley Hall Ph.D. สาขาจิตวิทยาคนแรกของระบบการศึกษาอเมริกัน เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งสมาคม APA เมื่อปี 1892 มีวัตถุประสงค์ดังนี้
“The purpose of the APA is to advance psychology as a science, as a profession, and as a means of promoting human welfare by the encouragement of psychology of all branches in the broadest and most liberal manner.” It attempts to further these objectives by holding annual meetings, publishing psychological journals, and working toward improve standards for psychological training and service.
การจำแนกสาขาของจิตวิทยา ของ APA ในปี 1995 มี 55 แขนง (Division) งานวิชาชีพจิตวิทยาในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะจัดสัดส่วนของจิตวิทยาสาขาต่าง ๆ ได้ ดังนี้
ตัวอย่างวิชาชีพจิตวิทยา Psychologist นักจิตวิทยา Professional who studies behavior and use behavioral principles in scientific research or in applied setting.
Clinical psychologist นักจิตวิทยาคลินิก Mental health practitioner who views behavior and mental process from s psychological perspective and who assesses and treats persons with serious emotional or behavioral problems or conducts research into the causes of behavior.
Counseling psychologist นักจิตวิทยาการปรึกษา Mental health practitioner who assist people who have behavioral or emotional problems, through the use of testing, psychotherapy, and other therapies.
Psychiatrist จิตแพทย์ Physician (medical doctor) specializing in the treatment of patients with mental or emotional disorders.
5. ประโยชน์ของการศึกษาวิชาจิตวิทยา 1. ทำให้มีความเข้าใจในพฤติกรรมของตนเอง มีทัศนคติที่ดี ต่อตัวเองยอมรับตัวเอง 2. ทำให้มีความเข้าใจในพฤติกรรมของคนอื่น มีทัศนคติที่ดี ต่อคนอื่น ยอมรับคนอื่น 3. ทำให้สามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุของพฤติกรรม เป็นคนมี เหตุผลและและยอมรับเหตุผล
4. ทำให้มีความสามารถในการปรับตัว มีการปรับปรุงตนเอง มีบุคลิกดี มีมนุษยสัมพันธ์ สุขภาพจิตดี 5. นำเอาความรู้ทางพฤติกรรมไปประยุกต์กับวิชาชีพ ด้านธุรกิจ การออกแบบ การตกแต่ง การจูงใจงานการโฆษณาประชา สัมพันธ์ การให้บริการต่าง ๆ การให้การศึกษาและการฝึกอบรม การอนุบาลและการพัฒนาเด็ก การแพทย์และการพยาบาล ทำให้เกิดความก้าวหน้าในอาชีพ
6. มีทัศนคติที่ดีต่อการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน การสงเคราะห์คนอื่น การรักในสันติภาพ 7. เป็นคนทันสมัย มีโลกทัศน์กว้าง มีคุณธรรม 8. เป็นคนน่าเชื่อถือ 9. ส่งเสริมความมั่นคงในชีวิตครอบครัว ความรักระหว่างสามี ภรรยา การเลี้ยงดูและการอบรมลูก เพิ่มคุณภาพชีวิต สร้างสรรค์ครอบครัว ไม่สร้างปัญหาให้ แก่สังคม 10. ระมัดระวังในสุขภาพของตนเองและของผู้อื่น ทำให้มีชีวิตที่ดี