รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
Advertisements

หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
การจัดการบริการสารสนเทศ หน่วยที่ 6 การส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศและ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์ สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ การเลือกใช้และการประเมินแหล่งสารสนเทศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
เรื่อง ระบบเทคโนโลยี.
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ข้อมูลและสารสนเทศ.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ฐานข้อมูล Data Base.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
แหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข 1. IS แหล่งสารสนเทศ C อ. ดร. นฤมล รักษาสุข 2 หน่วยที่ 2 2. แหล่งสารสนเทศแยกประเภท ตามแหล่งที่เกิด 2.1.
เรื่อง ระบบเทคโนโลยี 1.นางสาว จุฑามาศ สุทธศิลป์ เลขที่ 11
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
รูปแบบการบริการสารสนเทศ
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
เสนอ อภิปรายการศึกษาดูงาน กศน. จังหวัดมุกดาหาร. แนวคิดในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ มีการบริงานชัดเจน - การกระจายอำนาจปกครองลงไปสู่ระดับตำบล - มีการจัดสรรงบประมาณ.
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข รายวิชา แหล่งสารสนเทศ หน่วยที่ 8 การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ โดย อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข

ความสำคัญของการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ 1. ทางสังคม : แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) 2. ทางการเมือง : พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร ของทางราชการ พ.ศ. 2540 3. ทางเศรษฐกิจ : แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge – based Economy)

1. แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ศักยภาพและใช้ชีวิตอย่างมีความสุข นับเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากแรงจูงใจที่จะเรียนด้วยตนเองจากแหล่งการเรียนรู้ทุกชนิด

แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ต่อ) (Lifelong Learning) แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ต่อ) (Lifelong Learning) แนวคิดดังกล่าวได้ถูกนำมาตราในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยมาตรา 25 บัญญัติว่า “รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษ-ศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์กีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อย่าง พอเพียงและมีประสิทธิภาพ”

2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ ทางราชการ พ.ศ 2540 เหตุผลสำคัญประการหนึ่งของการตราพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 คือ “ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ เพื่อจะได้สามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง”

3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge – based Economy)

3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (ต่อ) (Knowledge – based Economy) 3. แนวคิดเศรษฐกิจฐานความรู้ (ต่อ) (Knowledge – based Economy) การพัฒนาประชาชนและประเทศไปสู่เศรษฐกิจฐานความรู้นั้น ต้องการการสร้างปัจจัยสำคัญประการหนึ่ง คือ ความสามารถที่จะเข้าถึงแหล่งความรู้

สรุป แนวคิดดังกล่าวจะเป็นจริงในทางปฏิบัติได้ก็ต่อเมื่อประชาชนไทยมีโอกาสและความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยที่รัฐต้องมีมาตรการที่ชัดเจนและจริงจังในการพัฒนาแหล่งสารสนเทศแต่ละระดับ

วิธีการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ การเข้าถึง แหล่งสารสนเทศ ประเภทต่างๆ การเข้าถึง แหล่งสารสนเทศ ประเภท แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศแบบทางเดียว 1. ฟัง สื่อโสตทัศน์ สื่อหลายมิติ ผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ ของจริง สื่อโสตทัศน์ สื่อหลายมิติ 2. ดู 3. อ่าน ต้นฉบับตัวเขียน สื่อสิ่งพิมพ์ ไมโครฟอร์ม ฐานข้อมูล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อหลายมิติ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ แบบสองทาง พูดคุย สัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์

หลักการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ - Correct Matching (การจับคู่อย่างถูกต้องระหว่าง แหล่งสารสนเทศที่มีอยู่กับ ความต้องการผู้ใช้)

บทบาทของนักสารสนเทศใน การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ 1. การเข้าถึงเชิงความรู้ (Intellectual Access) 2. การเข้าถึงเชิงกายภาพ (Physical Access)

ความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าถึง เชิงความรู้และการเข้าถึงเชิงกายภาพ Correct Matching แหล่งสารสนเทศ (Information Sources) - สารสนเทศปฐมภูมิ - สารสนเทศทุติยภูมิ - สารสนเทศตติยภูมิ ข้อมูลตัวแทนสารสนเทศ และเครื่องมือช่วยค้น (Search Tools) - บรรณานุกรม - Metadata - บัญชีรายชื่อ - รหัส/เลขหมู่ - Catalogue - ดรรชนี - สาระสังเขป - Search Engines - OPAC ความต้องการของผู้ใช้ (Users’ Need) Intellectual Access Physical Access