ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
การดำเนินการของลำดับ
2.5 Field of a sheet of charge
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
จงหาส่วนประกอบของแรงในแนว ทำกับประจุที่จุดA(3,4,12) โดย F
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
พื้นที่ผิวและปริมาตร
เวกเตอร์และสเกลาร์ขั้นสูง
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
เวกเตอร์และสเกลาร์ ขั้นสูง
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
Tangram.
ระบบอนุภาค.
Quadratic Functions and Models
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Force Vectors (2) WUTTIKRAI CHAIPANHA
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Chapter 1 Vector.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์ (Scalar Product and Vector Product) สำหรับจำนวนจริงเรามีการดำเนินการบวกและการคูณ (ลบและหาร คือ การผกผันของการบวกและคูณตามลำดับ) สำหรับในการดำเนินการด้านเวกเตอร์ นอกจากจะมีการบวก ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันกับการบวกตัวเลขปกติแล้ว ยังมีการ ดำเนินการคล้ายการคูณ แต่แตกต่างจากการคูณของตัวเลข

แนวคิด u u v v

ผลคูณเชิงสเกลาร์ (หรือ ผลคูณจุด) Scalar Product (or Dot Product) ผลคูณเชิงสเกลาร์ หมายถึง ขนาดของเงาของเวกเตอร์หนึ่ง ที่ทาบบนอีกเวกเตอร์หนึ่ง คูณกับขนาดของเวกเตอร์นั้น ที่ได้ชื่อว่าผลคูณเชิงสเกลาร์ เพราะว่าผลลัพท์ที่ได้จากการ คำนวณเป็นตัวเลข (สเกลาร์) และที่บางครั้งได้ชื่อว่าผลคูณจุด เพราะเรามักใช้สัญลักษณ์จุด (“ ”) ในการสื่อว่าเป็นการคูณ ประเภทนี้

ผลคูณเชิงสเกลาร์ (หรือ ผลคูณจุด) Scalar Product (or Dot Product) v

จงหาผลคูณเชิงสเกลาร์ของ u และ v เมื่อ

พิจารณาสามเหลี่ยม กฎของ sine กฎของ cosine

v u+v v u u

ผลคูณเชิงสเกลาร์ (หรือ ผลคูณจุด) Scalar Product (or Dot Product) และถ้า u=<u1,u2,u3> และ v=<v1,v2,v3> แล้ว

จงหาผลคูณเชิงสเกลาร์ของ u และ v เมื่อ

ทฤษฎีบทของผลคูณเชิงสเกลาร์ ถ้า u,v และ w เป็นเวกเตอร์ และ เป็นสเกลาร์ใดๆ แล้ว

จริงหรือไม่?

จงหาค่าต่อไปนี้

จงหามุมระหว่าง u และ v เมื่อ

ให้ u=<1,-3,4> v=<1,5,2> จงหา โคไซน์ของมุมระหว่าง u,v ส่วนประกอบสเกลาร์ของ u ในทิศทางของ v

u v เวกเตอร์ภาพฉายของเวกเตอร์ u บนเวกเตอร์ v Projection of u on v projvu

u v เวกเตอร์ภาพฉายของเวกเตอร์ u บนเวกเตอร์ v Projection of u on v projvu

Projvu = Projuv = เวกเตอร์ภาพฉายของเวกเตอร์ u บนเวกเตอร์ v เมื่อ

u v เวกเตอร์ซึ่งตั้งฉากกับเวกเตอร์ภาพฉาย projvu

ถ้าระบบนี้เป็นระบบสมดุล จงหาแรงตึงของเส้นเชือกทั้งสองเส้น 50kg

แนวคิด

ผลคูณเชิงเวกเตอร์ (หรือ ผลคูณไขว้) Vector Product (or Cross Product) ผลคูณเชิงเวกเตอร์ หมายถึง เวกเตอร์อีกเวกเตอร์หนึ่งซึ่ง ตั้งฉากกับเวกเตอร์ u และv ตามทิศทางของกฎมือขวา ที่ได้ชื่อว่าผลคูณเชิงเวกเตอร์ เพราะว่าผลลัพท์ที่ได้จากการ คำนวณเป็นเวกเตอร์ และที่บางครั้งได้ชื่อว่าผลคูณไขว้ เพราะเรามักใช้สัญลักษณ์กากบาท หรือ ไขว้ (“ ”) ในการ สื่อว่าเป็นการคูณประเภทนี้

การหาผลคูณเชิงเวกเตอร์ของ u และ v ถ้า u=<u1, u2, u3> และ v=<v1, v2, v3> 1 3 2

ความสัมพันธ์ระหว่าง และ

จงหา

ถ้า u=<1,2,-2> และ v=<3,0,1> จงหา

การหาเวกเตอร์ซึ่งมีทิศทางเดียวกับทิศทาง จากจุด P1 ไปยังจุด P2 และมีขนาดเท่ากันกับ ระยะทางระหว่างจุด P1 และจุด P2

ทฤษฎีบทของผลคูณเชิงเวกเตอร์ ถ้า u,v และ w เป็นเวกเตอร์ และ เป็นสเกลาร์ใดๆ แล้ว

ถ้า u=<3,5,-4> และ v=<-2,0,1> จงหา

จริงหรือไม่?

เมื่อใด

จงหาเวกเตอร์ซึ่งตั้งฉากกับระนาบที่ผ่านจุด (2,2,0) (-1,0,2) (0,4,3)

หมายเหตุ เวกเตอร์ซึ่งตั้งฉากกับระนาบมีหลายเวกเตอร์

จงหาพื้นที่ของสามเหลี่ยมซึ่งมีจุดยอดอยู่ที่จุด (2,2,0) (-1,0,2) (0,4,3)

จงหาค่าต่อไปนี้

u w v

ทฤษฎีบท ถ้า u,v,w เป็นเวกเตอร์ซึ่งไม่เป็นเวกเตอร์ 0 ใน ระบบ 3 มิติ แล้ว ทรงสี่เหลี่ยมด้านขนาน (parallelepiped) ซึ่งมีเวกเตอร์ u,v และ w เป็นส่วนประกอบของด้าน จะมี ปริมาตร ลูกบาศก์หน่วย และ ก็ต่อเมื่อ u,v และ w อยู่ในระนาบเดียวกัน

จงหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนาน ซึ่งมีเวกเตอร์ u=<1,2,-1>, v=<-2,0,3>, w=<0,7,-4> เป็นส่วนประกอบ

ถ้า จงหา

1) u=<1,-2,1>, v=<3,0,-2>, w=<5,-4,0> จงตรวจสอบว่าเวกเตอร์ต่อไปนี้อยู่ในระนาบเดียวกันหรือไม่ 1) u=<1,-2,1>, v=<3,0,-2>, w=<5,-4,0> 2) u=5i-2j+k, v=4i-j+k, w=i-j 3) u=<4,-8,1>, v=<2,1,-2>, w=<3,-4,12>