การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนการจัดการความรู้ : ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม
Advertisements

ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
แรงผลักดัน ความท้าทายและเส้นทางสู่ความสำเร็จ
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
ผลิตสินค้าและบริการ.
PowerPoint Template
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงงาน ศาสนพิธี.
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
Knowledge Management (KM)
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
Communities of Practice (CoP)
กลุ่มสัมมนาผู้ปฏิบัติงาน โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กลุ่มที่ ๖ โครงการ “ ทำดี มีอาชีพ ” กับการแก้ปัญหาด้าน ความมั่นคง.
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
Share and Care ครั้งที่ 3/2553 สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม วันที่ 27 ตุลาคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม สวทส. ชั้น 1.
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 17 มิถุนายน 2554
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
รูปแบบการสอน.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
เทคโนโลยีสารสนเทศ ง นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
ความรู้ ปัญหา (โอกาส) ปัญหา (โอกาส) วิจัย วิจัย TQF TQF QA
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
Chapter 01 Problem-Solving Concept แนวคิดการแก้ปัญหา
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
สวัสดีค่ะ อาจารย์ จิติณัฐ และเพื่อนๆทุกคน.
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแนว 7 Es
ADDIE Model.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
การสื่อ ความหมาย. 1. บรรยายเรื่องการสื่อ ความหมายได้ วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนนี้ แล้ว ผู้เข้ารับ การ ฝึกอบรมควรจะสามารถ เมื่อจบบทเรียนนี้ แล้ว ผู้เข้ารับ.
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
อำนาจหน้าที่ของศึกษาธิการจังหวัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส. การจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ มทส. ศราวุธ ป้อมสินทรัพย์ หัวหน้า สผ. http://www.sut.ac.th/dpn E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ให้โอกาส ให้อิสระในความคิด และให้การสนับสนุน จนถึงขั้นการมีจิตนาการ คำสำคัญ ให้โอกาส ให้อิสระในความคิด และให้การสนับสนุน จนถึงขั้นการมีจิตนาการ กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ต้องรู้จักความรู้ก่อน จึงจะจัดการความรู้ได้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ความรู้ชัดแจ้ง ความรู้ฝังลึก สรุปความรู้มี ๒ ประเภท ความรู้ชัดแจ้ง Explicit Knowledge มีอยู่ในตำรา ในเอกสารวารสาร คู่มือ คำอธิบาย วีซีดี คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูล ฯลฯ ความรู้ฝังลึก Tacit Knowledge มีอยู่ในสมองคน ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาได้ ทั้งหมด

หน้าที่ของนักจัดการความรู้ นำ Tacit K. และ Explicit K. มาเข้าสู่กระบวนการจัดการ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ธรรมชาติของกระบวนการเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

เมื่อรู้จักธรรมชาติการเรียนรู้แล้ว จะจัดการอย่างไร ? E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ย้อนกลับไปที่คำสำคัญ ให้โอกาส ให้อิสระในความคิด และให้การสนับสนุน จนถึงขั้นการมีจิตนาการ <= KM Process กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง <= Change Management Process E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

KM Process E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

Change Management Process E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การวัดผล (Measurements) การเรียนรู้ (Learning) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการ และเครื่องมือ (Process & Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management)

สิ่งที่ต้องทำใน แผนปฏิบัติการ การจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

เป้าหมาย 4 ประการของ KM ให้คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิดทำงาน ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานในรูปแบบใหม่ ๆ ทดลอง & เรียนรู้ นำเข้า K-how จากภายนอก อย่างเหมาะสม

กรอบเรื่องที่จะนำมาจัดการความรู้ การจัดการความรู้ งาน คน

KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” ??? อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

เริ่มต้นกรอบแบบฟอร์มแผนฯ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

ข้อ 1. รายชื่อคณะทำงาน KM ของหน่วยงาน นายศราวุธ ป้อมสินทรัพย์ หัวหน้าคณะทำงาน นางสาวอรุโณทัย ผลาพฤกษ์ คณะทำงาน นายสมจิต มณีวงศ์ คณะทำงาน นางสาวพัชรี ดงกระโทก คณะทำงาน นางสาวจันทนี วีระชัย คณะทำงานและเลขานุการ

ข้อ 2 ขอบเขต KM (KM Focus Area) การบริการห้องสมุดและสื่อการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา การดำเนินงานสหกิจศึกษา การเงินและบัญชี การวางแผนและงบประมาณ การบริหารงานบุคคล การให้บริการสารบรรณและนิติการ การตรวจสอบภายใน

KM Focus Area => เป้าหมาย KM

การกำหนดขอบเขต KM และเป้าหมาย KM ตัวอย่าง ขอบเขต KM : ข้อ 1.การเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมด้านน้ำ เป้าหมาย KM (Desired State) คือ 1. โรงพยาบาลภายใต้การควบคุมดูแลขององค์กร สามารถจัดการความรู้ ด้านควบคุมคุณภาพน้ำเสียให้ได้ตามกฎหมายหรือได้มาตรฐานที่สูง กว่า อย่างน้อย 3 โรงพยาบาล ภายในปี 2549 2. องค์กร สามารถจัดการความรู้ด้านการรักษาสภาพแวดล้อมของ แหล่งน้ำ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแล ให้ได้ตามกฎหมายหรือได้มาตรฐานที่สูงกว่าในทุกแหล่งน้ำ ภายในปี 2549

การกำหนดขอบเขต KM และเป้าหมาย KM กรณีส่วนแผนงาน ขอบเขต KM : การวางแผนและงบประมาณ เป้าหมาย KM (Desired State) คือ 1. ส่วนแผนงาน มีระบบการจัดทำงบประมาณแบบกองทุน โดยเริ่มต้นใช้ในปี งปม 2552 และพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นเพื่อใช้ในปี งปม 2553

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

วิธีการสู่ความสำเร็จ กระบวนการจัดการความรู้ การบริหารการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่าง: องค์ประกอบของแผนการปฏิบัติการ KM กิจกรรม (Activities) วิธีการสู่ความสำเร็จ (Mean to Achieve) ระยะเวลา (Timeline) ทรัพยากร (Resources) ผู้รับผิดชอบ (Responsible) กระบวนการและ เครื่องมือ กระบวนการ กำหนดเป้าหมาย (Desired state) - จัดทำ Work shop KM จัดทำระบบการสับเปลี่ยน หมุนเวียนงาน - ข้อมูลการสำรวจความ ต้องการจัดการความรู้, ข้อมูลการสอนงาน/ สับเปลี่ยนงาน, ผู้ที่จะเป็นพี่เลี้ยง/ ผู้อำนวยการและ KM Team กระบวนการจัดการความรู้ 20เม.ย-31พ.ค.48 การสื่อสาร การสร้างความตระหนัก ในความสำคัญของ KM - การจัดทำ KM News Letter - บอร์ด KM - Website KM - เขียนหนังสือ/บทความ Km - สติ๊กเกอร์ KM - กล่องรับความคิดเห็น 1ก.พ.–30เม.ย.48 งบประมาณ อุปกรณ์/เครื่องใช้, กระดาษสี/โปสเตอร์, คอมพิวเตอร์,เครื่องพิมพ์, KM Team และตัวแทน แต่ละหน่วยงาน KM Team การบริหารการเปลี่ยนแปลง

กรอบแบบฟอร์มเพื่อกำหนด KM Process E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

กรอกแบบฟอร์มเพื่อกำหนด Change Management Process E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt

THANK YOU for your attention…