เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับสถาบันฯ สู่ระดับส่วนงาน/ส่วน วันพฤหัสบดี ที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ โดย ผศ.เบญจวรรณ อุบลศรี รองอธิการบดี E-mail : aplandiv@kmitl.ac.th , http://www.kmitl.ac.th/plandiv
กรอบการนำเสนอ หลักการและที่มา การแปลงแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผล ขั้นตอนการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับสถาบัน สู่ระดับบุคคล
หลักการและที่มา การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของ สกอ. องค์ประกอบที่ 7 ตัวบ่งชี้ที่ 7. 9 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวบ่งชี้และเป้าหมายระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล (ยกเลิกตั้งแต่ปีการศึกษา 2553) พระราชบัญญัติสถาบันฯ พ.ศ. 2551 • มาตรา 22 ข้อ (14) ได้กำหนดให้สภาสถาบันมีอำนาจและหน้าที่ ในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสถาบันและอธิการบดี 3/11
หลักการและที่มา (ต่อ) พระราชบัญญัติสถาบันฯ พ.ศ. 2551 (ต่อ) • มาตรา 34 ข้อ (3) ได้กำหนดให้อธิการบดี มีหน้าที่ในการกำกับดูแล ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหัวหน้าส่วนงานตามมาตรา 9 (3) และ (4) แผนกลยุทธ์สถาบัน พ.ศ. 2550-2559 สถาบันได้กำหนดขั้นตอนในการแปลงแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ โดยกำหนดให้หัวหน้าส่วนงานและส่วน ต้องจัดทำคำรับรองการปฏิบัติงานประจำปี กับอธิการบดี และให้ทุกส่วนงานและส่วน ต้องถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของสถาบันไปสู่ส่วนงานและระดับบุคคล 4/11
ตัวชี้วัดระดับส่วนงาน/ส่วน วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ค่า เป้าหมาย แผนงาน/ โครงการ Run the Business เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด งบประมาณ ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับส่วนงาน/ส่วน 5/14 ตัวชี้วัดระดับบุคคล 5
แผนภาพแสดงกลไกและขั้นตอนในการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ แปลงแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ 5 ปี (พ.ศ.2550-2554) - โครงการ/งบประมาณ - แผนแม่บทหลัก - ผู้รับผิดชอบ แผนกลยุทธ์ 10 ปี (พ.ศ.2550-2559) เสนอของปม. จัดสรรงบประมาณ พิจารณาโครงการ ตามลำดับความสำคัญกลยุทธ์ โครงการที่ ได้รับงปม. - โครงการ/งบประมาณ - ตัวชี้วัด/เป้าหมาย - ระยะเวลาการดำเนินงาน - ผู้รับผิดชอบ แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี รับเงินรางวัล ตามผลงาน ถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่หน่วยงาน - ตัวชี้วัดตามแผนกลยุทธ์ - ตัวชี้วัดตาม ก.พ.ร. - ตัวชี้วัดตามสำนักงบประมาณ คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ ประเมินผล ถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่บุคคล - ตัวชี้วัดตามหน่วยงาน - ตัวชี้วัดตามหน้าที่ - ตัวชี้วัดที่ได้รับมอบหมาย แบบมอบหมายงาน ตาม Job Description ของบุคคล รับเงินเลื่อนขั้น ตามผลงาน 6/14 6
ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลจากระดับสถาบันฯจนถึงระดับบุคคล แนวทางการพัฒนาระบบประเมินผล กระบวนการพัฒนาระบบประเมินผล ขั้นตอนที่ 1: การพัฒนาระบบประเมินผลระดับสถาบันฯ ระดับ สถาบันฯ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.1 ยืนยัน วิสัยทัศน์ของ สถาบันฯ 1.2 ยืนยัน ประเด็นยุทธศาสตร์ ของสถาบันฯ 1.3 กำหนดเป้า ประสงค์ที่ สถาบันฯต้องการ บรรลุภายใต้ แต่ละประเด็น ยุทธศาสตร์ 1.4 กำหนด ตัวชี้วัดใน แต่ละ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 2 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับสนอ. 2.1 ยืนยัน วิสัยทัศน์ของ สนอ. 2.3 กำหนด ประเด็นยุทธศาสตร์ เพิ่มเติมตามวิสัยทัศน์ ของ สนอ. 2.4 กำหนดเป้าประสงค์ ที่ สนอ. ต้องการบรรลุ ภายใต้แต่ละประเด็น ยุทธศาสตร์ 2.2 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ สนอ. มีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และ ประเด็นยุทธศาสตร์ของสถาบันฯ 2.5 กำหนด ตัวชี้วัดในแต่ละ เป้าประสงค์ บทบาท หน้าที่และภารกิจ ที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และ ประเด็นยุทธศาสตร์สถาบันฯ วิสัยทัศน์สนอ. เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับ สนอ. บทบาท หน้าที่และภารกิจ ที่สนับสนุนวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วน วิสัยทัศน์ หน่วยงาน บทบาท หน้าที่และภารกิจ ที่สนับสนุนวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของสถาบันฯ ขั้นตอนที่ 3 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับส่วน ระดับ ส่วน 3.1 ยืนยัน วิสัยทัศน์ของ หน่วยงาน 3.2 กำหนดประเด็น ยุทธศาสตร์ที่หน่วยงาน มีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วน 3.3 กำหนด ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่หน่วยงานมีส่วน ผลักดันวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการต้นสังกัด ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ 3.4 กำหนดประเด็น ยุทธศาสตร์เพิ่มเติม ตามวิสัยทัศนของ หน่วยงาน 3.5 กำหนดเป้าประสงค์ ที่หน่วยงานต้องการ บรรลุภายใต้แต่ละ ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.6 กำหนดตัวชี้วัด ในแต่ละ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด บทบาท หน้าที่ของ บุคคล ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) ขั้นตอนที่ 4 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับบุคคล 3.1 ยืนยัน หน้าที่งาน ของบุคคล 3.2 กำหนด เป้าประสงค์ที่บุคคล มีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ ของผู้บังคับบัญชา ระดับบุคคล 3.3 กำหนด เป้าประสงค์เพิ่มเติม ตามหน้าที่งาน ที่ยังไม่ได้มี การประเมิน 3.4 กำหนด เป้าประสงค์เพิ่มเติม ตามงานที่ได้รับ มอบหมายพิเศษที่ยัง ไม่ได้มีการประเมิน 3.5 กำหนด ตัวชี้วัดในแต่ละ เป้าประสงค์ 7
การแปลงแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ แผนกลยุทธ์สถาบันฯ พ.ศ. 2550-2559 แผนปฏิบัติการ 5 ปี พ.ศ. 2550-2554 แผนปฏิบัติการประจำปี คำรับรองการปฏิบัติงานประจำปี แบบมอบหมายงานรายบุคคล การรายงานผล / ติดตาม และประเมินผล 8/14
การแปลงแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ * กลยุทธ์การถ่ายทอด KPIs ตามโครงสร้างองค์กร เป้าประสงค์/ ยุทธศาสตร์ของกระทรวง เป้าประสงค์/ยุทธศาสตร์ ของกลุ่มภารกิจ (สกอ.) เป้าประสงค์/ยุทธศาสตร์ ของสถาบัน KPIs กระทรวง เป้าประสงค์/ยุทธศาสตร์ ส่วนงาน/ส่วน KPIs กลุ่มภารกิจ (สกอ.) KPIs สถาบัน KPIs ส่วนงาน/ส่วน 9/14
การประเมินผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองฯ ประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของส่วนงาน/ส่วน โดยเปรียบเทียบผลการดำเนินงานจริงกับเป้าหมาย ระดับคะแนนของผลการประเมินในแต่ละระดับ 5 = มีพัฒนาการดีเลิศ ทำได้เกินเป้าหมาย ต้องใช้ ความพยายามสูงมากสุดเอื้อม 4 = มีพัฒนาการดีเยี่ยม ทำได้เกินเป้าหมาย ต้องใช้ ความพยายามอย่างมาก 3 = มีพัฒนาการดี ทำได้ตามเป้าหมาย 2 = มีพัฒนาการพอใช้ (ควรปรับปรุง) 1 = ไม่มีพัฒนาการ (ต้องปรับปรุง) 10/14
การจัดทำคำรับรองฯ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน การจัดทำคำรับรองฯ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน สัญลักษณ์แทนค่าคะแนนที่ได้รับจากการประเมินฯ = คะแนนที่ได้รับ มีค่าเท่ากับ 4.50 – 5.00 = คะแนนที่ได้รับ มีค่าเท่ากับ 3.50 – 4.49 = คะแนนที่ได้รับ มีค่าเท่ากับ 2.50 – 3.49 = คะแนนที่ได้รับ มีค่าเท่ากับ 1.50 – 2.49 = คะแนนที่ได้รับ มีค่าเท่ากับ 1.00 – 1.49 เขียวเข้ม เขียวอ่อน เหลือง ส้ม แดง 11/14
และเป้าหมายระดับสถาบันสู่ระดับส่วนงาน/ส่วน การถ่ายทอดตัวชี้วัด และเป้าหมายระดับสถาบันสู่ระดับส่วนงาน/ส่วน 12/14
การแปลงระบบประเมินผลระดับสถาบันสู่ระดับส่วนงาน/ส่วน เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับสถาบันฯ ระดับสถาบันฯ บทบาท หน้าที่ และภารกิจ ของส่วนงาน/ส่วน ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ในระดับสถาบันฯ ระดับส่วนงาน/ส่วน บทบาท หน้าที่และภารกิจ ในงานประจำของส่วนงาน/ส่วน เป้าประสงค์ ในระดับส่วนงาน/ส่วน ตัวชี้วัดในระดับส่วนงาน/ส่วน
กระบวนการจัดทำระบบประเมินผลระดับส่วนงาน/ส่วน 1. ยืนยันบทบาท หน้าที่ของส่วนงาน/ ส่วน 2. กำหนดเป้าประสงค์ ที่ส่วนงาน/ส่วน มีส่วนผลักดัน เป้าประสงค์ของ สถาบันฯ 3. กำหนดเป้าประสงค์ เพิ่มเติมตามหน้าที่ งานที่ยังไม่ได้มีการ ประเมิน 4. กำหนดตัวชี้วัดใน แต่ละเป้าประสงค์