กระบวนการเขียนโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
โปรแกรมการคำนวณค่า sin รายชื่อผู้เสนอโครงงาน
การรับค่าและแสดงผล.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
วิธีการทำงานของผังงาน
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
การวัดประสิทธิภาพ.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
บทที่ 4 อัลกอริทึมแบบเรียงลำดับ (Sequential Algorithm)
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมการคำนวณพื้นที่วงกลม
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
การวิเคราะห์ปัญหา ปัญหาอะไร ?.
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ. สมมติให้พนักงานดังกล่าวดำเนินการแต่งตัวเพื่อไปทำงานเป็นดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ.
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
Chapter 04 Flowchart ผู้สอน อ.ยืนยง กันทะเนตร
อ. วชิระ หล่อประดิษฐ์. ตัว ดำเนินกา ร ศัพท์เฉพาะตัวอย่ าง ผลลัพธ์ ให้ a=3; b=2; Greater thana > b;True
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
ปัญหา : มีนักโทษ 13 คน มีเครื่องหมายประจำตัวตั้งแต่ A-M ถูกตัดสินประหารชีวิต แต่พอถึงเวลาประหาร มี 1 คนที่ได้รับการอภัยโทษเป็นกรณีพิเศษ โดยใช้วิธีขานเลข.
Flowchart การเขียนผังงาน.
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการเขียนโปรแกรม พนิดา ทรงรัมย์

กระบวนการเขียนโปรแกรม (programming process) 1. การนิยามปัญหา(problem definition) 6. การจัดทำเอกสาร 2. การเตรียมวิธีคิด (การแก้ปัญหา) (algorithm) 3. การเตรียมผังงานโปรแกรม(flowchart) 4. การเขียนโปรแกรม (coding) 5. การตรวจสอบข้อผิดพลาด และการทดสอบ (debugging and testing)

ตัวอย่าง ตัวอย่าง หาพื้นที่สามเหลี่ยม 1. การนิยามปัญหา start ตัวอย่าง หาพื้นที่สามเหลี่ยม Base, Height 1. การนิยามปัญหา input: ฐาน (Base), สูง (Height) output: พื้นที่สามเหลี่ยม (Area) 2. การเตรียมวิธีแก้ปัญหา - รับข้อมูลจากคีย์บอร์ดทีละค่าใส่ในตัวแปร Base และ Height - ทำการคำนวณหาพื้นที่ ½ * Base * Height ผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ในตัวแปร Area - แสดงพื้นที่สามเหลี่ยมที่อยู่ในตัวแปร Area 3. การเตรียมผังงานโปรแกรม 4. การเขียนโปรแกรม 5. การทดสอบ สมมติตัวเลขขึ้นมา 1 ชุด คือ 4 6 หลังจากโปรแกรมทำงานเสร็จ คำตอบที่ได้คือ Area is 12 Area  ½ * Base * Height; ‘Area is’, Area stop

ตัวอย่าง start ตัวอย่าง 2.1นายหน้าค้าที่ดินต้องการแปลงหน่วยเป็นตารางวาให้เป็นตารางเมตร ID 1. นิยามปัญหา - input: รหัส (ID), ความกว้าง (WidthW) และ ความยาว(LengthW) - output: ตารางวา (Area) 2. วิธีแก้ปัญหา 2.1 รับค่าจากคีย์บอร์ดทีละค่าเก็บไว้ในตัวแปร ID, WidthW, LengthW 2.2 แปลงความกว้างจากวา->เมตร WidthW * 2 เก็บไว้ใน WidthM 2.3 แปลงความยาวจากวา->เมตร LengthW * 2 เก็บไว้ใน LengthM (1 วา = 2 เมตร) 2.4 คำนวณพื้นที่ WidthM * LengthM เก็บไว้ใน Area 2.5 แสดงรหัสและพื้นที่ตารางเมตรในตัวแปร Area 3. ผังงานโปรแกรม 4. เขียนโปรแกรม 5. ทดสอบ สมมติตัเลขขึ้นมา 1 ชุด เช่น 11 20 30 ผลลัพธ์: 11 Area is 2400 6. ในกรณีที่ต้องปรับปรุง ? WidthW LengthW WidthM  WidthW * 2; LengthM  LengthW * 2; Area  WidthM * LengthM; ID, ’space is ’, Area stop

ตัวอย่าง ปรับปรุง ตัวอย่าง 2.1 start 1. นิยามปัญหา - input: รหัส (ID), ความกว้าง (WidthW) และ ความยาว(LengthW) - output: ตารางวา (Area) 2. วิธีแก้ปัญหา 2.1 รับค่าจากคีย์บอร์ดเก็บไว้ในตัวแปร ID, WidthW, LengthW 2.2 คำนวณพื้นที่ WidthW * LengthW*4 เก็บไว้ใน Area 2.5 แสดงรหัสและพื้นที่ตารางเมตรในตัวแปร Area 3. ผังงานโปรแกรม 4. เขียนโปรแกรม 5. ทดสอบ สมมติตัเลขขึ้นมา 1 ชุด เช่น 11 20 30 ผลลัพธ์: 11 Area is 2400 6. ในกรณีที่ต้องปรับปรุง ? ID, WidthW, LengthW Area  WidthW * LengthW*4; ID, ’space is ’, Area stop

ตัวอย่าง start Cnt0; ตัวอย่าง 2.2 การนับจำนวนตัวเลขที่รับเข้ามาทางคีย์บอร์ดมีกี่จำนวน 1. นิยามปัญหา - input: ตัวเลข - output: จำนวนตัวเลขที่รับเข้าไป 2. วิธีแก้ปัญหา 2.1 ตัวนับ Cnt = 0 2.2 รับค่าจากคีย์บอด เก็บไว้ในตัวแปร X 2.3 เพิ่มตัวนับ Cnt เข้าอีกหนึ่ง ถ้าค่า X = 0 ให้ไป 2.5 2.4 ไปขั้นตอนที่ 2.2 2.5 แสดง ค่าของตัวนับ 3. ผังงานโปรแกรม 4. เขียนโปรแกรม 5. ทดสอบ สมมติตัเลขขึ้นมา 1 ชุด เช่น 8 99 12 0 ผลลัพธ์: 3 X Y X=0 N Cnt CntCnt+1; stop

แบบฝึกหัด 2.1 start Cnt0; ทดสอบกับข้อมูล 2 5 9 8 9 0 ผลลัพธ์ = 2 ? X 1 2 Y X=0 X : 2 5 9 8 9 N N Cnt X=9 Y stop CntCnt+1;

แบบฝึกหัด 2.2 บริษัทแห่งหนึ่งต้องการทราบรายได้ของพนักงานขาย โดยข้อมูลที่มีประกอบด้วย รหัสพนักงานขาย (id) เงินเดือน(sal) ยอดขาย (Amt) จำนวนที่ขาย (Num) อัตราค่านายหน้า (Agrate) โดยมีเกณฑ์ดังนี้ ค่านายหน้า (Agent) = ยอดขาย x อัตราค่านายหน้า ถ้าจำนวนสินค้าที่ขายมากกว่า 10 หน่วย จะได้โบนัสพิเศษ (bonus)อีก 5,000 บาท รายได้ = เงินเดือน + ค่านายหน้า + โบนัส เขียนผังงานโปรแกรมเพื่อ แสดงวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าว

Income  Sal+Agent+Bonus; แบบฝึกหัด 2.1 start Id, Sal, Amt, Num, Agrate Agent  Amt * Agrate; N Num>10 Bonus  0; Y Bonus  5000; Income  Sal+Agent+Bonus; Income stop