กลุ่มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ทีม ละมุนภัณฑ์ กลุ่มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คณะทำงานประกอบด้วย คุณเอื้อ นายศตธรรม บุญทาศรี คุณอำนวย น.ส.จิราพร จิตปรีชาญ คุณลิขิต น.ส.ธารทิพย์ สุภามณี คุณกิจ นายธีรศักดิ์ นรรัตน์ คุณกิจ น.ส.สุภาวัลย์ สุขหล้า คุณกิจ น.ส.สาวิตตรี เทพคำใต้ คุณกิจ น.ส.สวพรรณ ประดิษฐชัย คุณกิจ นายวุฒิศักดิ์ บัวบาน
เป้าหมายการจัดการความรู้ Key Terms - Knowledge เป้าหมายการจัดการความรู้ “การพัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูล” How do we define knowledge? In order to answer that we need to talk about metadata, data and information first. Metadata - Is Information describing the characteristics of data; data or information about data; descriptive information about an organization's data, data activities, systems, and holdings. Data - Important to KM, but when existing by itself, data provides no “judgement” or “interpretation” of events; it is strictly a representation of facts, concepts, or instructions in a formalized manner suitable for communication, interpretation, or processing by humans or by automatic means. Information - Information management is essential to KM. Information is the raw material for production of knowledge. It results when data becomes organized, patterned, grouped and/or categorized. EXPLICIT KNOWLEDGE is knowledge that can be codified and stored physically or electronically, stands on its own, is actionable and learnable. (Examples: lessons learned, analysis reports, summary documents, worksheets, etc.) C TACIT KNOWLEDGE is derived from a combination of experience, intellect, business acumen, intuition, and wisdom Residing in a person’s mind, it is difficult, if not impossible to capture and store externally. How well strategic objectives are achieved ultimately depends on our ability to harness and effectively manage these two types of knowledge. C Knowledge - Knowledge, then, is the understanding we gain through experience, observation or study. In short, knowledge is more meaningful information. Knowledge is information in context, enhanced with connectivity, judgement and intuition.
1. ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์ การเก็บขุมความรู้จากเรื่องเล่าเร้าพลัง + แก่นความรู้(ปัจจัยและองค์ประกอบ) 1. ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์ 2. ศึกษาข้อมูลตามต้องการของฐานข้อมูล 3. เลือกเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาโปรแกรม 4. อาศัยพื้นฐานและประสบการณ์ในการพัฒนาโปรแกรม
การสร้างเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จ แก่นความรู้ (ปัจจัย/องค์ประกอบ) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1. ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์ ไม่ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์ เริ่มที่จะกล้าถามปรึกษาเพื่อนเล็กน้อย ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์ ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์พอสมควร ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์อย่างเต็มที่จนบรรลุเป้าหมาย 2.ศึกษาข้อมูลตามต้องการของฐานข้อมูล ไม่มีการศึกษาข้อมูล เริ่มสังเกตสิ่งที่อยู่รอบตัวที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ศึกษา เริ่มศึกษาถึงข้อมูลที่จะทำ ศึกษาข้อมูลอย่างจริงจัง ได้รับข้อมูลและความต้องการอย่างถ่องแท้
การสร้างเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จ แก่นความรู้ (ปัจจัย/องค์ประกอบ) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 3. เลือกเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาโปรแกรม ไม่มีความรู้เกี่ยวกับข้อมูลที่เหมาะสม เริ่มศึกษาถึงข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม วิเคราะห์เครื่องมือที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ทดลองใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม ได้เครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาโปรแกรม 4.อาศัยพื้นฐานและประสบการณ์ในการพัฒนาโปรแกรม ไม่ได้นำพื้นฐานและประสบการณ์มาใช้เลย เริ่มใช้ประสบการณ์และพื้นฐานมาใช้เป็นบางครั้ง ใช้ประสบการณ์เดิมและพื้นฐานที่มีอยู่ในการพัฒนาโปรแกรม เริ่มนำพื้นฐานและประสบการณ์มาปรับใช้กับการพัฒนาโปรแกรม เอาประสบการณ์พื้นฐานมาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมได้เป็นอย่างดี
การประเมินตนเอง (ภาพรวม) การประเมินตนเอง (ภาพรวม) ปัจจัยความสำเร็จ ปัจจุบัน (C) เป้าหมาย (T) 1 (เริ่มต้น) 2 (พอใช้) 3 (ดี) 4 (ดีมาก) 5 (ดีเยี่ยม) 1.ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์ X x 2. ศึกษาข้อมูลตามต้องการของฐานข้อมูล
3. เลือกเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาโปรแกรม ปัจจัยความสำเร็จ ปัจจุบัน (C) เป้าหมาย (T) 1 (เริ่มต้น) 2 (พอใช้) 3 (ดี) 4 (ดีมาก) 5 (ดีเยี่ยม) 3. เลือกเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาโปรแกรม x 4. อาศัยพื้นฐานและประสบการณ์ในการพัฒนาโปรแกรม X
แผนการจัดการความรู้สู่ความสำเร็จ ปัจจัยความสำเร็จ เป้าหมาย โครงการกิจกรรม ตัวชี้วัด 1.ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์ ได้รับคำแนะนำจากเพื่อนและอาจารย์ เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และนักศึกษา ได้รับความรู้จากเพื่อนและอาจารย์ 2.ศึกษาข้อมูลตามต้องการของฐานข้อมูล ได้รับข้อมูลและความต้องการอย่างถ่องแท้ อบรมการออกแบบฐานข้อมูลให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ได้รับข้อมูลและความต้องการของฐานข้อมูลในการพัฒนาโปรแกรม
ได้เครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาโปรแกรม แผนการจัดการความรู้สู่ความสำเร็จ ปัจจัยความสำเร็จ เป้าหมาย โครงการกิจกรรม ตัวชี้วัด 3.เลือกเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาโปรแกรม ได้เครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนาโปรแกรม อบรมการเลือกใช้เครื่องมือในการพัฒนา ทราบถึงเครื่องมือที่เหมาะสมกับการพัฒนาโปรแกรใ 4.อาศัยพื้นฐานและประสบการณ์ในการพัฒนาโปรแกรม เอาประสบการณ์พื้นฐานมาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมได้เป็นอย่างดี กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้พื้นฐานระหว่างบุคคล งานสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์