การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การประเมินผลการเรียน
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
“Backward” Unit Design?
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
(Competency Based Curriculum)
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ADDIE Model.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การสร้างสื่อ e-Learning
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์

ขั้นตอนของการวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. กำหนดจุดมุ่งหมายของการประเมินผล 2. กำหนดจุดประสงค์ของรายวิชาที่จะประเมินผล (ระบุคะแนน/น้ำหนักความสำคัญของแต่ละจุดประสงค์) 3. เลือกเครื่องมือ และ/หรือ เทคนิคการวัดและประเมินผล ที่เหมาะสมกับแต่ละจุดประสงค์ 4. กำหนดวัน เวลา ที่จะทำการวัดและประเมินผล 5. กำหนดรายละเอียดในการสร้างเครื่องมือที่จะใช้ ในการวัดและประเมินผล 6. กำหนดรายละเอียดในการให้ระดับผลการเรียน (เกรด)

ประเมินผลเพื่อจัดตำแหน่ง (Placement Evaluation) ประเมินผลย่อย (Formative Evaluation) ตรวจสอบระดับ ความพร้อม ระดับความรู้และ ทักษะพื้นฐาน ระดับการรอบรู้ ในจุดประสงค์ รายงานความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ ให้ข้อมูลป้อนกลับ เพื่อเสริมแรง แก้ไข้ข้อผิด/บกพร่อง จุดมุ่งหมาย ของ การประเมินผล ประเมินผลรวม/สรุป (Summative Evaluation) ประเมินผลเพื่อวินิจฉัย (Diagnostic Evaluation) หาสาเหตุที่ทำให้ผู้เรียน ไม่ประสบผลสำเร็จ ตัดสินผลการเรียน ให้ระดับผลการเรียน

กำหนดจุดประสงค์ของวิชาที่จะประเมินผล เลือกจุดประสงค์ที่สำคัญ ให้ครอบคลุมพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย และเน้นกระบวนการ กำหนดคะแนน/น้ำหนักความสำคัญของจุดประสงค์ ตามสัดส่วนของจำนวนคาบของกิจกรรมการเรียนการสอน

เลือกเครื่องมือ และ/หรือ เทคนิคการวัดและประเมินผล ที่เหมาะสมกับแต่ละจุดประสงค์ เครื่องมือ และ/หรือ เทคนิค ต้องหลากหลาย (ตามแนวการประเมินตามสภาพจริง) 1 จุดประสงค์อาจใช้เครื่องมือ และ/หรือ เทคนิค มากกว่า 1 อย่าง

กำหนดวัน เวลาที่จะทำการวัดและประเมินผล กำหนดวัน เวลาที่จะทำการวัดและประเมินผล ที่ต่อเนื่องและควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอน

กำหนดรายละเอียดในการสร้างเครื่องมือ สร้างตารางโครงสร้างเครื่องมือ (Test blueprint) /ตารางวิเคราะห์หลักสูตร (Table of test specification) กำหนดรูปแบบ / ชนิดของเครื่องมือ วางแผนการสร้างเครื่องมือ / ตรวจสอบและปรับปรุง / และจัดทำเครื่องมือฉบับที่จะใช้จริง

กำหนดรายละเอียดในการให้ระดับผลการเรียน (เกรด) กำหนดจุดประสงค์ของรายวิชาที่จะนำมาประเมินเพื่อให้ระดับผลการเรียน กำหนดรูปแบบ หรือชนิดของเครื่องมือ และ/หรือ เทคนิค ที่จะทำการวัด และประเมินผล ตลอดจนสัดส่วนของคะแนน กำหนดวิธีการรวมคะแนน (รวมคะแนนดิบ / รวมคะแนนมาตรฐาน ) กำหนดกรอบอ้างอิงในการให้ระดับผลการเรียน (แบบอิงกลุ่ม / อิงเกณฑ์) และกำหนดเกณฑ์ / มาตรฐาน / รายละเอียดของความรู้ความสามารถ และพฤติกรรม ในแต่ละระดับของผลการเรียน กำหนดข้อตกลงอื่น ๆ